Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 4001-4050
  1. อิฏฺฐกา : (อิต.) อิฐ (ดินเผา หรือ ปูนซิเมนต์ผสม กับทรายหล่อเป็นรูปสี่เหลี่ยมหรือสี่เหลี่ยม ผืนผ้า), แผ่นอิฐ, กระเบื้อง. อิสุ อิจฺฉายํ, ณฺวุ. ส. อิษฺฏกา.
  2. อิณปริโภค : (ปุ.) การบริโภคด้วยความเป็น หนี้.
  3. อิตฺตรตา : อิต. ความเป็นของเปลี่ยนแปลง
  4. อิตฺถตฺต : นป. ๑. ภพนี้, ชาตินี้; ๒. สตรีภาพ, ความเป็นหญิง
  5. อิตฺถตฺตา : (อิต.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท ซ้อน ตฺ.
  6. อิตฺถภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ.
  7. อิตฺถมฺภุต (อิตฺถมฺภูต) : ค. เป็นเช่นนี้
  8. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  9. อิตฺถินิมิตฺต : นป. อิตถีนิมิต, เครื่องหมายความเป็นหญิง
  10. อิตถี : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (ผู้ ในที่นี้เป็นคำ นาม). วิ. อิจฺฉตีติ อิตฺถี (ผู้ปรารถนาชาย). อิจฺฉียตีติ อิตฺถี (ชายอยากได้). นรํ อิจฺฉาเปตีติ อิตฺถี (ผู้ให้ชายปรารถนา). อสุ อิจฺฉายํ, อีสาตฺถีติ สุตฺเตน ตฺถีปจฺจโย, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. อถวา, อิสฺ ปฏฺฐเน, ถี, สสฺส โต. ส. สตฺรี.
  11. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  12. อิตถีนิมิตฺต : (นปุ.) เครื่องหมายของหญิง. อิตฺถี+นิมิตฺต. เครื่องหมายของเพศหญิง. อิตฺถีเวส+นิมิตฺต ลบ เวส. เครื่องหมาย ของความเป็นหญิง. อิตฺถีภาว+นิมิตฺต ลบ ภาว.
  13. อิติ : (กิริยาอาขยาด) ย่อมเป็นไป. อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  14. อิติหีติห : (วิ.) เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาอย่างนี้ อย่างนี้, เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาดังนี้ดังนี้, จริงอย่างนี้, จริงอย่างนี้อย่างนี้.
  15. อิทฺธิปาฏิหาริย : (นปุ.) ความอัศจรรย์อันเกิด จากความสำเร็จ, อิทธิปาฏิหาริย์ (สิ่งที่น่าอัศจรรย์ การแสดงฤทธิ์ได้เป็น อัศจรรย์).
  16. อิทปจฺจยตา อิทปฺปจฺจตา : (อิต.) ความเป็น แห่งธรรม มีอวิชชาเป็นต้นเป็นปัจจัย, ความเป็นแห่งสังสารอัฏมีอวิชชาเป็นต้น เป็นปัจจัย.
  17. อิทปฺปจฺจยตา : อิต. ความมีสิ่งนี้เป็นปัจจัย
  18. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  19. อินฺทฺริย : (วิ.) ใหญ่, เป็นใหญ่, ปกครอง.
  20. อินฺทิรา : (อิต.) พระลักษมี ชื่อชายาของพระ นารายณ์ เป็นเจ้าแม่แห่งลาภและความงาม.
  21. อินฺทุริย : นป. อินทรีย์, อำนาจ, ความเป็นใหญ่
  22. อิริยนา : (อิต.) ความเป็นไป, ความประพฤติ, ความเป็นอยู่, ความเจริญอยู่. อิริยฺ วตฺตเน, ยุ.
  23. อิริยา : (อิต.) ความเป็นไป, ฯลฯ. ความเคลื่อนไหว, กิริยา, ท่าทาง. อิริยฺ ธาตุ อ ปัจ. ส. อีรฺยา.
  24. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  25. อิสฺสตฺถก : (ปุ.) นายขมังธนู, นายพรานธนู (ผู้มีธนูเป็นประโยชน์).
  26. อิสฺสร : ป. ผู้เป็นเจ้า, พระอิศวร, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้านายเหนือหัว
  27. อิสฺสรชน : ป. อิสรชน, ผู้เป็นไทย, ผู้มีอำนาจ
  28. อิสฺสรนิมฺมาณวาที : ค. ผู้เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลก
  29. อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
  30. อิสฺสริย : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, ฯลฯ. วโส อิสฺสริยํ โลเก.
  31. อิสฺสริยมท : ป. ความมัวเมาในความเป็นใหญ่
  32. อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
  33. อิสิปตนมิคทายวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ตกไปแห่ง ฤาษีและเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ, ป่าเป็นที่อยู่ แห่งฤาษีและห้ามฆ่าสัตว์.
  34. อิสิปพฺพช อิสิปพฺพชฺช : (วิ.) บวชด้วยความเป็นฤาษี, บวชเป็นฤาษี.
  35. อิสิปพฺพชา : อิต. การสละบ้านเรือนออกบวชเป็นฤษี
  36. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  37. อุ : อ. เป็นอุปสรรค ใช้ต่อหน้าศัพท์มีความหมายว่า ขึ้น, นอก, เหนือ, บน
  38. อุกฺกณฺฐิต : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยคอในเบื้องบน. อุปริ+กณฺฐ+อิต (อิ ธาตุ ต ปัจ.) กฺ สังโยค. ดูกิริยากิตก์ด้วย. อุกฺกนฺติ
  39. อุกฺกาปาต : (ปุ.) การตกแต่งประทีป, อุกกา- บาต (แสงสว่างเป็นดวงไฟตกมาจาก อากาศ ผีพุ่งใต้), ส. อุลฺกาปาต.
  40. อุกฺกูร : ก. สูงลาดขึ้น, เป็นเนินลาด, ลาดชัน, ตลิ่งสูง
  41. อุขติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
  42. อุจฺจกุลีนตา : อิต. ความเป็นผู้เกิดในตระกูลสูง
  43. อุจฺจารกรณฏฺฐาน อุจฺจารฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็น ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, ถาน (ส้วมของพระ).
  44. อุจฺฉิฏฺฐ : (วิ.) เป็นเดน. อุปุพฺโพ, ฉิทิ ฉิชฺชเน, โต. ส. อุจฺฉิษฺฏ.
  45. อุชฺชงฺคล : (นปุ.) ที่เป็นที่ขาดเขินแห่งน้ำ, ที่ ดอน, อุทก+ชงฺคล ลบ ทก ซ้อน ชฺ.
  46. อุชฺฌาปนก : (นปุ.) ความเป็นผู้ให้เพ่งโทษ, ฯลฯ.
  47. อุชุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนตรง, ฯลฯ. ตา ปัจ.
  48. อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.
  49. อุฏฐายก : ก. ผู้มีความเพียรเป็นเหตุให้ลุกขึ้น, ผู้ขยัน
  50. อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | [4001-4050] | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1274 sec)