Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 951-1000
  1. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  2. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  3. สมฺณ : (ปุ.) สมณะ พระสมณะ(ผู้สงบ ผู้สงบระงับ). วิ. สเมติ สมียติ วา ปาปํ อเนนาติ สมโณ. สมุ อุปสเม, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ.
  4. สมตฺถ : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, สมตฺฤ สตฺติยํ, อ. สา สตฺติยํ วา, โถ. แปลง อา เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น ม ซ้อน ตฺ.
  5. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  6. สมฺปฏิจฺฉน : (นปุ.) การรับพร้อม, การรับ, การตอบรับ, การรับคำ, การรับอารมณ์. สํ ปฏปุพฺโพ, ฉทฺสํวรเณ, อ. แปลง ท เป็น น.
  7. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  8. สมฺพุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้พร้อม, ความรู้ด้วยดี, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. สํปุพฺโพ, พุธ อวคมเน. ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ขฺฌ ยุ เป็น อน.
  9. สมฺมท : (ปุ.) ความยินดี, ความรื่นเริง, ความบันเทิง. สํปุพฺโพ, มุท หาเส, อ. แปลง อุ เป็น อ. ส. สมฺมท.
  10. สมฺมทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์โดยชอบ, เนื้อความโดยชอบ, อรรถโดยชอบ. วิ. สมฺมา อตฺโถ สมฺมทตฺโถ. รัสสะ อา เป็น อ ทฺ อาคม. ต. ตัป.
  11. สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
  12. สมฺมปฺปญฺญา : (อิต.) ปัญญาชอบ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. ปัญญาโดยชอบ. เป็น ต. ตัป.
  13. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  14. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  15. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  16. สมาปชฺชนา : (อิต.) การเข้า. สํ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  17. สมิชฺณน : (นปุ.) ความรุ่งเรือง, ความเจริญรุ่งเรือง, ความสำเร็จ. สํปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, ยุ. ลง ย ปัจ ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  18. สมิธา : (อิต.) เชื้อไฟ, ฟืน. วิ. สนฺต มคฺคึ เอธยติ อทฺธยตีติ สมิธา. สนฺตปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, อ. แปลง สนฺต เป็น ส มฺ อาคม อา อิต. ส. สมิธ.
  19. สมีป : (วิ.) ใกล้, ใกล้เคียง. วิ. สํคโต อาโป ยสฺมึ ตํ สมีปํ, ลบ คน แปลงนิคคหิต เป็น ม อา เป็น อี.
  20. สมุนฺนทฺธ : (วิ.) ตั้งไว้เป็นกอง ๆ, บังเกิดเป็นกอง ๆ กัน. สํ อุป วิ ปุพฺโพ, อูหฺ ฐปเน, โต. แปลงนิคคหิต เป็น ม อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ ยฺ อาคม แปลง ตฺ เป็น พฺห ลบที่สุดธาติ.
  21. สโมสร สโมสรณ : (นปุ.) การมารวมกัน, การมาร่วมกัน, การมาพร้อมกัน, การประชุมกัน, สโมสร(ที่สำหรับประชุมกัน ที่สำหรับประชุมคบค้ากัน). สํ อา ปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. ยุ. แปลง อา เป็น โอ.
  22. สฺยาม : (ปุ.) ประเทศเจริญ, ประเทศรุ่งเรือง(ด้วยความดี), สยาม(สะหยาม), ประเทศสยาม. ปัจจุบันคือ ประเทศไทย (เปลี่ยนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓). สุ วุทฺธิยํ, อามปจฺจโย. แปลง อุ เป็น ย.
  23. สรท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครั่นคร้าม. สุรปุพฺโพ, ทา เฉทเน, อ. แปลง อุ เป็น อ.
  24. สรพ สรว : (วิ.) เอ็ดอึง, ดังรั่น. สํปุพฺโพ, รุ สทฺเท, โณ. ลบนิคคหิต พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ศัพท์ต้นแปลง ว เป็น พ.
  25. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  26. สลฺลกฺขณ : (นปุ.) การกำหนดดี, การกำหนดด้วยดี, ลักษณะดี. เป็น สลฺลขณา สลฺลกฺขนา (อิต.) บ้าง.
  27. สลฺลหุก : (วิ.) เบา, เบาพร้อม (คือ เบากาย เบาจิต), กระปี้กระเปร่า. สํปุพฺโพ, สํฆฺ คติโสสเนสุ, โก. ลง อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ลบนิคคหิตที่ธาตุ แปลง ฆ เป็น ห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ แปลงนิคคหิตที่บทหน้าเป็น ล.
  28. สลิล : (นปุ.) น้ำ วิ. สลตีติ สลิลํ. สลฺ คติยํ, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. สลิล.
  29. สวณ : (ปุ.) สวณะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๒ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย. วิ. สวติ สุภาสุภผล เมเตนาติ สวโณ. สุ ปสเว, ยุ. เป็น สวน บ้าง.
  30. สวณีย สวนีย : (วิ.) อัน...พึงฟัง. สุ สวเน, อนิโย. ศัพท์ต้น แปลง นฺ เป็น ณฺ คำ เสานีย์ แผลงมาจาก สวนีย์ และใช้เป็นนามในความว่า คำหรือคำสั่งของนางพระยา หรือคำสั่งของท้าวพระยา.
  31. สวน : (นปุ.) การฟัง, สัททชาตอันบุคคลฟัง, อวัยวะสำหรับฟัง, หู. วิ. สวนํ สวนํ. สูยตีติ วา สวนํ. สุณาติ เอเตนาติ วา สวนํ. สุ สวเน, ยุ. เป็น สวณ บ้าง.
  32. สฺวปฺป : (วิ.) ประมาณน้อย, พอประมาณ. สุฎฐุ+อปฺป ลบ ฎฐุ แปลง อุ ที่ สุ เป็น ว.
  33. สฺวาณ สฺวาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. สุนศัพท์แปลง อุน เป็น วาน รูปฯ ๖๔๗.
  34. สฺวาตน : (อัพ. นิบาต) มีในวันพรุ่ง วิ. เ สฺว ภวํ สฺวาตนํ. เ สฺว+ตน ปัจ. แปลง เอ เป็น อา รูปฯ ๔๐๗.
  35. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  36. สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
  37. สเหตุ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยเหตุ. วิ. สห เหตุนา โย วตฺตตีติ สเหตุ. แปลง สห เป็น ส ลง ก สกัด เป็นสเหตุก และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  38. สฬายตน : (นปุ.) เครื่องต่ออารมณ์ ๖ อย่าง, ที่เป็นต่อ ๖, ที่เป็นที่มาต่อ ๖, เครื่องติดต่อ ๖ อย่าง, อายตนะ ๖. ฉ+อายตน แปลง ฉ เป็น ส ฬฺ อาคม รูปฯ ๓๓๔.
  39. สากจฺฉา : (อิต.) การเจรจา, การเจรจากัน, การเจรจากับ, การกล่าวกับ, การสนทนา, การสนทนากัน, การสังสนทนา. วิ. สห สมฺมา วา อวิโรเธน กถา สากจฺฉา(สนทนาโดยชอบโดยไม่ขัดคอกันเลย. สห+กถา+ต ปัจ.แปลง สห เป็น สา ถ เป็น จ ต เป็น ฉ อาอิต. สํปุพฺโพ วา, กถฺ วจเน, โ ณฺย, สํสทฺทสฺส สา, ถฺยสฺส จฺโฉ, อิตฺถิยํ อา.
  40. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  41. สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
  42. สาตจฺจ : (วิ.) ติดต่อโดยรอบ, เป็นไปติดต่อ, เป็นไปติดต่อกัน, เป็นไปไม่ว่างเว้น, เป็นไปไม่ขาดสาย, เป็นไปเป็นนิตย์, เป็นนิตย์, เที่ยง, เนือง, บ่อย ๆ, เสมอ ๆ, ทุกเมื่อ. สตต+ณฺย ปัจ. สกัด แปลง ตฺย เป็น จฺจ ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  43. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  44. สาธิย สาธิฎฺฐ : (วิ.) ผู้ยิ่งกว่า, ผู้ยิ่งที่สุด, พาฬฺห+อิย, อิฎฐ ปัจ. แปลง พาฬฺห เป็น สาธ รูปฯ ๓๗๘.
  45. สาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สามิกสฺส วจนํ สทฺทํ วา สุณาตีติ สาโน. สุ สวเน, ยุ, อุสฺส อาการตฺตํ. สุนฺ คติยํ วา, อ. สาโณ ปิ. รูปฯ ตั้ง สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อาน.
  46. สามนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดยรอบ. รูปฯ เป็น สตฺตมิยตฺถนิปาต.
  47. สามายิก : (วิ.) อันมีในสมัย. สมย+ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. ทีฆะ อ ที่ ส และ ม เป็น อา.
  48. สายณฺห : (นปุ.) เวลาเย็นแห่งวัน, เวลาเย็น, สายัณห์, สนธยา. วิ. อหสฺส สายํ สายณฺหํ. แปลง อหฺ เป็น อณฺห.
  49. สายน : (นปุ.) ความยินดี, ความเพลิน, การลิ้ม, การจิบ. สา อสฺสาทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ. แปลง ยุ เป็น อน.
  50. สายมาส : (นปุ.) โภชนะอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น, ภัตอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น. สายํ+อส แปลง นิคคหิตเป็น ม อ+อ เป็น อา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1329 sec)