Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เฉพาะบุคคล, เฉพาะ, บุคคล , then ฉพา, เฉพาะ, เฉพาะบุคคล, บุคคล, ปุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เฉพาะบุคคล, 509 found, display 351-400
  1. สาธฺย : (วิ.) อันบุคคลพึงให้สำเร็จ, ควรให้สำเร็จ. สาธฺ สํสิทธิยํ, โ ณฺย.
  2. สาธุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ความดี, ความใคร่ความดี.
  3. สาปเตยฺย : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์(ทรัพย์มรดก), ทรัพย์, สมบัติ. วิ. สสฺส ธนสฺส ปติ สปติ, ตสฺมึ สาธูติ สาปเตยฺยํ. สปติสฺส วา หิตํ สาปเตยฺยํ. เณยฺย ปัจ.
  4. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  5. สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
  6. สายมาส : (นปุ.) โภชนะอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น, ภัตอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น. สายํ+อส แปลง นิคคหิตเป็น ม อ+อ เป็น อา.
  7. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  8. สาสนทายาท : (ปุ.) บุคคลผู้รับมรดกในศาสนา, บุคคลผู้สืบอายุศาสนา, บุคคลผู้สืบศาสนา.
  9. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  10. สีลสามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกันโดยศีล, ความเป็นผู้มีศีลเสมอกัน.
  11. สุกทริยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก, ความเป็นผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก.
  12. สุจฺฉนฺนเคหสทิส สุฉนฺนเคหสทิส : (วิ.) อันเช่นกับด้วยเรือนอันบุคคลมุงดีแล้ว.
  13. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  14. สุทุตฺตร : (วิ.) อัน...ข้ามได้ด้วยยากยิ่ง, อันบุคคลข้ามได้ด้วยความยากยิ่ง, ข้ามไปได้ด้วยความยากยิ่ง.
  15. สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
  16. สุรูปตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีรูปดี, ความเป็นผู้มีรูปได้สัดส่วน, ความเป็นผู้มีรูปร่างสมส่วน.
  17. สุวณฺณลงฺการ : (วิ.) ผู้มีเครื่องประดับอันบุคคลทำแล้วด้วยทอง, ผู้มีเครื่องประดับเป็นวิการแห่งทอง. ฉ. พหุพ.
  18. สุวินย : (วิ.) ผู้อันบุคคลแนะนำได้โดยง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้ว่าง่าย, ผู้ตัดง่าย, ผู้ฝึกง่าย.
  19. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  20. เสฎฐ : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, สิ่งอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, ทรัพย์. สิสฺ อิจฺฉายํ, โต, ตสฺส ฎฺโฐ, สฺโลโป, อิสฺเส.
  21. เสฎฺฐ : (ปุ.) คนผู้มีสิ่งอันบุคคลปรารถนา, คนมีทรัพย์, เศรษฐี. วิ. เสฎฺฐํ อสฺส อตฺถีติ เสฎฺฐ. อี ปัจ.
  22. เสนากูฎ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นยอดแห่งกองทัพ, แม่ทัพ, จอมพล.
  23. เสนาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในกองทัพ, บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, เสนาธิการชื่อบุคคล ผู้วางแผนการรบของทหาร.
  24. เสนานี : (ปุ.) บุคคลผู้นำเสนา, ขุนพล, แม่ทัพ, เสนาบดี, มหาอำมาตย์. วิ. เสนาย นี นายโก เชฎฺโฐ เสนานี. เสนํ นยตีติ วา เสนานี กฺวิ ปัจ.
  25. เสนาปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งเสนา, บุคคลผู้เป็นเจ้าแห่งเสนา, ขุนพล, นายพล, เสนาผู้ใหญ่, เสนาบดี ชื่อตำแหน่ง ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ผู้เป็นหัวหน้าของกระทรวง ปัจจุบันเรียกว่ารัฐมนตรี. ส. เสนาปติ.
  26. เสนิย เสนีย : (ปุ.) บุคคลผู้นำทัพ, จอมทัพ, จอมพล, จอมเสนา.
  27. เสรี : (ปุ.) บุคคลผู้มีอิสระ (ทำหรือพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น). วิ. อตฺตนา อีริตํ สีล มสฺสาติ เสรี.
  28. เสรีภาพ : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีอิสระ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีเสรี, ความเป็นผู้มีเสรี, ความมีเสรี.
  29. โสตาปตฺติยงฺคธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน, ธรรมอันเป็นเหตุยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพาน. ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้บรรลุกระแสแห่งพระนิพพาน ได้แก่ วุฑฒิธรรม ๔ ไตร ๑๑.
  30. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  31. โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
  32. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  33. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  34. หตฺถการ : (ปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  35. หตฺถกิจฺจ : (นปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  36. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  37. หพฺย หวฺย : (นปุ.) ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู ทาเน, โ ณฺย.
  38. หวิ : (นปุ.) การให้, การบูชา, ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู หพฺย ทาเน, อิ.
  39. หาลิทฺท : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยขมิ้น, ย้อมด้วยขมิ้น. วิ. หฺลิทฺทาย รตฺตํ หาลิทฺทํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. มีสีเหลือง วิ. หลิทฺโท. อสฺส อตฺถีติ หาลิทฺทํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  40. หิริโกปินปฎิจฺฉาทน : (นปุ.) ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเฉพาะซึ่งอวัยวะอันยังหิริให้กำเริบ, ผ้าปิดของลับ.
  41. หุต : (นปุ.) เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, เครื่องบูชา. หุ หพฺยปฺปทาเน, โต. เชื้ออันบุคคลให้. หุ ทาเน.
  42. หุตฺถกมฺม : (นปุ.) การงานอันบุคคลทำด้วยมือ, การมีฝีมือ, การช่าง, หัตถกรรม.
  43. เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
  44. โหม : (ปุ.) ข้าวเทวดาอันบุคคลบวงสรวง วิ. หุยฺยเตติ โหโม. หุ หพฺยปฺปทาเน, โม, อุสฺโส. เครื่องบูชา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การสังเวย. วิ.หวนํ โหโม. ส. โหม.
  45. โหร : (ปุ.) บุคคลผู้รู้วิชาโหร, บุคคลผู้พยากรณ์ตามวิชาโหร.
  46. อกฺโกธ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่โกรธ, ความเป็นผู้ไม่โกรธ. วิ. อกฺโกธสฺสภาโวอกฺโกธํ.ณ.ปัจ.ภาวตัท.
  47. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  48. อกมฺปียตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันโลกธรรมให้หวั่นไหวไม่ได้.
  49. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  50. อกิริยทิฏฐิ : (อิต.)ความเห็นว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ. ความเห็นว่าบุญหรือบาปที่บุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ คือเห็นว่าทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วไม่ได้ชั่ว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-509

(0.0793 sec)