Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เฉพาะบุคคล, เฉพาะ, บุคคล , then ฉพา, เฉพาะ, เฉพาะบุคคล, บุคคล, ปุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เฉพาะบุคคล, 509 found, display 451-500
  1. อภิธาน อภิเธยฺย : (นปุ.) การตั้งเฉพาะ, อภิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. โณฺย.
  2. อภินยน : นป. การนำไปเฉพาะ, การสอบถาม
  3. อภินิโรปน : (นปุ.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  4. อภินิโรปนา : (อิต.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  5. อภิมุข : ก. วิ. โดยเฉพาะหน้า, ตรงหน้า
  6. อภิสมฺปราย : (ปุ.) ปรโลกอันสัตว์พึงไปในเบื้องหน้าพร้อมเฉพาะแล้ว, ภพอันสัตว์พึงถึงพร้อมเฉพาะในเบื้องหน้า, โลกหน้า, ภพหน้า.
  7. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  8. อภิเสกเคหปฺปเวสนวิวาหมงฺคล : (นปุ.) มงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเข้าไปสู่เรือนเป็นที่อภิเษกและมงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเจ้าบ่าวไปสู่เรือนอื่น(เรือน ฝ่ายเจ้าสาว).
  9. อภิหฏฺฐ, อภิหริตุ : อ. เพื่ออันนำไปเฉพาะ, เพื่ออันนำไปมอบให้
  10. อมฺโภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, ผู้เจริญ, แน่ะผู้เจริญ.ใช้ได้ทั้งเอก.และพหุ.ใช้เรียกเฉพาะผู้ชาย.เอกวจนปุถุวจนวเสนปุริสานํอามนฺตเน.
  11. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  12. อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
  13. อวิค : (นปุ.) ที่ที่บุคคลหนีไม่พ้น, ที่สำหรับเผาศพ, เชิงตะกอน.น+วิ+คมฺธาตุรปัจ.
  14. อวิสาหฏมานสตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคลเป็นผู้มีจิตไม่ส่ายแล้ว, ความที่แห่งจิตเป็นจิตไม่ส่ายแล้ว, ความแน่วแน่.
  15. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  16. อสมฺมุข, - มุขีภูต : ค. ไม่พร้อมหน้า, ไม่เฉพาะหน้า, ไม่เผชิญหน้า
  17. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  18. อสฺสมปท : (นปุ.) สถานที่เป็นที่ไปของบุคคลผู้ระงับความโกรธ, ฯลฯ, อาศรมบท.
  19. อสฺสามิก : (วิ.) ไม่มีบุคคลเป็นเจ้าของ, ไม่มีเจ้าของ.
  20. อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
  21. อาคนฺตุกทาน : (นปุ.) ทานอันบุคคลพึงถวายแก่ภิกษุผู้จรมา, ทานอันบุคคลพึงให้แก่คนผู้จรมา.
  22. อาคนฺตุกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลพึงให้แก่....ผู้จรมา.
  23. อาจมฺม : นป. อาจม, วัตถุอันบุคคลพึงล้าง
  24. อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
  25. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  26. อาธิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใหญ่.วิ.อธิกสฺสภาโวอาธิกฺกํ.ณฺญปัจ. ภาวตัท.แปลงยเป็นก
  27. อาธิปจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งอธิบดี, ความเป็นอธิบดี.วิ. อธิป-ติสฺสภาโวอาธิปจฺจํ.ณฺยปัจ.ลบอิที่ติเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจฺจ.
  28. อานิ : (นปุ.) สิ่งอันบุคคลพึงได้, ผล.อาปุพฺโพ, นิปาปเน, อิ.
  29. อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
  30. อาปาถก : ค. มีคลอง, มีทาง, เป็นทางที่บุคคลพึงเห็นได้
  31. อายตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พึ่งพิง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ขยัน, ฯลฯ.
  32. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  33. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  34. อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
  35. อาสภิวาจา : (อิต.) คำองอาจ, วาจาองอาจ, ฯลฯ, วาจาของบุคคลผู้องอาจ, ฯลฯ.
  36. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  37. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  38. อิณายิก : (ปุ.) บุคคลผู้ยืม, ลูกหนี้ (คนมีหนี้). วิ. อิณํ คณฺหาตีติ อิณายิโก. อายิก ปัจ. อิณํ อายติ ปวตฺเตีติ วา อิณายิโก. ณวุ ปัจ.
  39. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  40. อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
  41. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  42. อุกฺกฏฺฐ : (ปุ.) เสียงอันบุคคลกล่าว, เสียงอัน บุคคลเปล่งขึ้น, เสียงโห่.
  43. อุทฺทิสฺสกต : ค. อันอุทิศ, อันเจาะจง, มุ่งหมายเฉพาะ
  44. อุปการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน. วิ. อุป อุปการํ กโรตีติ อุปการี. ณ ปัจ.
  45. อุปนฺติ : ก. วิ. ในที่ใกล้, ในที่เฉพาะหน้า
  46. อุปหาร : (ปุ.) การนำไปใกล้, การเคารพ, การนับถือ, การบูชา, เครื่องบูชา, อภิหาร (การนำไปเฉพาะคือการบูชา). อุปปุพฺโพ, หรฺ หรเณ ปูชายญฺจ, โณ. ส. อุปหาร.
  47. อุภโตพฺยญฺชนก : (วิ.) มีเพศสองอย่าง คือทั้ง เพศชาย และเพศหญิงอยู่ในบุคคลคนเดียว กัน. วิ. อุภโตพฺยญฺชน มสฺส อตฺถีติ อุภโตพฺยญฺชน โก. ก สกัด ฉ. ภินนาธิกรณพหุพ. อุภโต ปวตฺตํ พฺยญชนํ ยสฺสอตฺถีติ อุภโตพฺยญชนโก. ไตร. ๔ / ๑๘๐.
  48. อุสฺสารณา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังบุคคลให้ ลุกขึ้นแล่นไป, หวายเป็นเครื่องยังบุคคลให้ลุก ขึ้นแล่นไป.
  49. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  50. เอกทตฺถุ : ก. วิ. ครั้งหนึ่ง, โดยเฉพาะ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-509

(0.0616 sec)