Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเค้า, เค้า, เข้า , then ขา, ขาคา, เข้, เข้า, เข้าเค้า, คา, เค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเค้า, 643 found, display 251-300
  1. คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
  2. คามนฺตร : นป. บ้าน, ละแวกบ้าน, ระหว่างบ้าน
  3. คามิก : ป. ผู้อยู่ในบ้าน, ชาวบ้าน
  4. คามิ คามินี คามี : (วิ.) มีปกติยัง...ให้ถึง.
  5. คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
  6. คายิกา : อิต. หญิงนักร้อง
  7. คาหก : ค. ผู้ยึด, ผู้ถือ, ผู้แบกหาม
  8. คาหน : นป. การดำลงไป, การโจนลงไป
  9. คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
  10. คาหี : (วิ.) ผู้จับ,ฯลฯ. ณี ปัจ.
  11. กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
  12. ทพฺภ : (ปุ.) หญ้าคา. ทุ ปริตาเป, อพฺโภ. แปลว่า ข่า ก็มี. เป็นทพฺภิ บ้าง.
  13. พริหิส : นป. หญ้าคา; ข่า
  14. อชฺฌกฺข : (ปุ.) คนดูการ, คนดูการณ์, คนตรวจการณ์, คนตรวจตรา, คนยาม, เจ้าพนักงาน.วิ. คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวน เมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข.อธิ+อิกข แปลง อธิ เป็นอชฺฌ แปลง อิ ที่อิกฺข เป็น อ.
  15. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  16. คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
  17. โคปาลคามก : (ปุ.) หมู่บ้านของคนเลี้ยงโค. วิ. โคปาลานํ คาโม โคปาลคามโก. ก สกัด.
  18. จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
  19. จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
  20. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  21. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  22. เทวขาตก : (นปุ.) เหมืองน้อย วิ. เทเวน ขาตํ เทวขาตกํ (เทวดาขุด เนรมิต). ก สดัด. ส. เทวขาต.
  23. ธมฺมภณฺฑาคาริก : (ปุ.) ภิกษุผู้รักษาซึ่งเรือน แห่งภัณฑะคือธรรม, ธรรมภัณฑะคาริกะ ชื่อของพระอานนท์, พระอานนท์.
  24. นินฺนคา : (อิต.) แม่น้ำ วิ. นินฺนํ ฐานํ คจฉตีติ นินฺนคา. นินฺนปุพฺโพ, คมุ คติยํ สปฺปคติยํ วา, กฺวิ.
  25. ปฏิคฺคาหก : ค., ป. ผู้รับ, ผู้ยอมรับ, ผู้ถือเอา; ปฏิคาหก
  26. ปตฺตคาหาปก : ป. ภิกษุผู้เป็นปัตตคาหาปกะ, ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกบาตร
  27. มิคารมาตุ : (อิต.) มิคารมารดา ชื่ออุบาสิกา.
  28. มุขาธาน : (นปุ.) บังเหียน, บังเหียนม้า. วิ. มุขํ อติฏฺฐตีติ มุขาธานํ. มุข+อา+ฐา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  29. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  30. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  31. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  32. อนฺท : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  33. อนฺทุ อนฺทุกา : (อิต.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  34. อปคา : (อิต.) แม่น้ำ, ลำน้ำ (ทางน้ำที่ใหญ่ยาว)ส. อปคา.
  35. อสงฺขาริก : (นปุ.) ความไม่ปรุงแต่ง. วิ.อสงฺขโรเยวอสงฺขาริกํ.ณิกปัจ.สกัดรูปฯ ๓๖๐.
  36. อากาสคงฺคา : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ, แม่น้ำในอากาศ. วิ.อากาเสสนฺทมานาคงฺคาอากาสคงฺคา.
  37. อาคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, คฤหัสถ์. อคาร+ณิกปัจ.แปลงกเป็นยเป็นอาคาริยบ้าง.
  38. อาปคา : (อิต.) แม่น้ำ.อาปํสมุทฺทํคจฺฉตีติอาปคา.อาปุพฺโพ, คมฺสปฺปคติมฺหิ.กฺวิ.ส.อาปคา.
  39. อุกฺขลิ อุกฺขา อุขา : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, กระถาง. วิ. อุสตีติ อุกฺขลิ. อุสฺ ทาเห, อิ, สสฺส ขลาเทโส, กฺสํโยโค. คำที่ ๒, ๓ ตั้ง อุขฺ คมเน, อ. คำที่ ๒ ซ้อน กฺ. ส. อุขา.
  40. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  41. เอกาคาริก : (ปุ.) โจร, ขโมย. วิ. เอกํ อสหายํ อคารํ, ตํปโยชนํ เอกาคาริโก. อิก ปัจ.
  42. กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
  43. กงฺขา : อิต. ดู กงฺขนา
  44. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  45. กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
  46. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  47. กฏจฺฉุภิกฺขา : อิต. ภิกษาทัพพีหนึ่ง, ข้าวทัพพีหนึ่ง
  48. กรคฺคาหกาลย : (ปุ.) ที่ทำการศุลกากร.
  49. การาคาราธิปติ : (ปุ.) อธิบดีกรมราชทัณฑ์.
  50. กิมกฺขายี : ค. ผู้มีปกติกล่าวว่าอย่างไร
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-643

(0.0383 sec)