Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าเค้า, เค้า, เข้า , then ขา, ขาคา, เข้, เข้า, เข้าเค้า, คา, เค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าเค้า, 643 found, display 401-450
  1. องฺคมงฺคานุสาริวาย : (ปุ.) ลมอันพัดไปสู่อวัยวะน้อยและอวัยวะใหญ่, ลมพัดทั่วไปในร่างกาย, ลมที่อยู่ทั่วไปในร่างกาย.
  2. องฺคารกฏาห, องฺคารกปลฺล : ป. กระเบื้องใส่ขี้เถ้า, เชิงกราน
  3. องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
  4. องฺคารกมฺมกร : ป. คนเผาถ่าน
  5. องฺคารกาสุ : อิต. เตาไฟ, หลุมถ่าน
  6. องฺคารถูป : (ปุ.) พระสถูปบรรจุพระอังคารพระพุทธเจ้า.
  7. องฺคาริก : ป. คนเผาถ่าน
  8. อจฺจคา : ก. ถึงทับแล้ว, บรรลุแล้ว
  9. อชฺฌคา : ก. ได้บรรลุแล้ว, ได้ประสบแล้ว
  10. อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
  11. อตฺถกฺขายี : (ปุ.) มิตรผู้บอกซึ่งประโยชน์โดยปกติ, มิตรมีปกติบอกซี่งประโยชน์, มิตรแนะประโยชน์.
  12. อธิจิตฺตสิกฺขา : (อิต.) ปฏิทาอัน..พึงศึกษา คือจิตยิ่ง, ข้อที่ควรศึกษาคือจิตยิ่ง, อธิกจิตตสิกขาชื่อหลักการศึกษาทางพุทธศาสนา หลักที่ ๒ใน ๓ หลัก.
  13. อธิปฺปาคา : ก. ไปแล้ว, ถึงแล้ว
  14. อนฺวคา : ก. (เขา) ติดตามแล้ว
  15. อนาคาริย : (ปุ.) คนไม่ครองเรือน, ฯลฯ.แปลงกเป็นยหรืออิย ปัจ.ชาตาทิตัท.
  16. อนาคาริยวินย : (ปุ.) วินัยของบรรพชิต, วินัยของพระ.
  17. อนุคฺคาหก : ค. ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อนุเคราะห์
  18. อนุคามิกอนุคามี : (วิ.) ไปตามโดยปกติ, มีปกติไปตาม, เกี่ยวเนื่อง. ส. อนุคามี.
  19. อนุคามิก อนุคามี : (วิ.) ไปตามโดยปกติ, มี ปกติไปตาม, เกี่ยวเนื่อง. ส. อนุคามี.
  20. อนุคามิก, อนุคามี : ค. ผู้ติดตาม, ผู้เดินตาม
  21. อนุรกฺขา : อิต. ดู อนุรกฺขน
  22. อปฺปฏิสงฺขา : อิต. การไม่พิจารณา, การขาดการพิจารณา
  23. อปริโยคาหนา : (อิต.) ความสงสัย, ความคลางแคลง, ความไม่แน่ใจ.
  24. อเปขาอเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  25. อเปขา อเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  26. อพฺภกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวคัดค้าน
  27. อภิกงฺขา : (อิต.) ความอยากจัด, ความกำหนัด, ความยินดี, ความรักใคร่.อภิปุพฺโพ, กขิอิจฺฉายํ, อ.
  28. อภิสงฺขาริก : ค. สภาพที่สังขารปรุงแต่ง, สภาพที่บุญปรุงแต่ง
  29. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  30. อวคาหน : นป. ดู อวคาห
  31. อสงฺคาหนา : อิต. ดู อสงฺคห
  32. อสมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ในที่ลับหลัง.
  33. อสิคฺคาหก : ค. ผู้ถือดาบ, ผู้ถือพระแสง
  34. อากขาอากงฺขา : (อิต.) ความจำนง, ความปรารถนา, ความหวัง, อากังขาชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาปุพฺโพ, กํขฺอิจฺฉายํ, อ.ส.อากางฺกฺษา.
  35. อากงฺขา : อิต. ดู อากงฺขน
  36. อาคาริย : (วิ.) ผู้มีการงานอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เรือน.
  37. อาคาริยสีล : (นปุ.) ศีลของคนครองเรือน.
  38. อาทานคาหี : (วิ.) ผู้ถือเอาด้วยความยึดถือ, ผู้ถืออย่างแน่นแฟ้น.
  39. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  40. อาธานคาหี : ป. คนดื้อด้าน, คนว่ายากสอนยาก
  41. อารกฺขา : อิต. อารักขา, การรักษา, การคุ้มครองป้องกัน
  42. อิกฺขา : (อิต.) การเห็น, ฯลฯ. อิกขุ ธาตุ อ ปัจ. อา อิต.
  43. อุขา : อิต. ดู อุกฺขลิ
  44. อุคฺคาหก : ค. ผู้เรียน, ผู้ศึกษา
  45. อุทยตฺถคามินี : ค. ซึ่งเกิดขึ้นและเสื่อมไป
  46. อุปจฺจคา : ก. ล่วงไปแล้ว, ชนะได้แล้ว
  47. อุปปริกฺขา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องเข้าไปเห็น.
  48. อุเปขา : อิต. ดู อุเปกฺขนา
  49. โอกฺขายิก : ค. ซึ่งปรากฏ, ซึ่งอยู่ลึก
  50. โอคาหน : นป. ดู โอคาห
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-643

(0.0617 sec)