Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, เครื่อง, กำเนิด, ไฟฟ้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, 708 found, display 151-200
  1. จุณฺณจาลนี, จุณฺณกจาลนี : อิต. เครื่องกรองยาผง, ตะแกรงร่อนยาผง
  2. จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
  3. จุนฺทภณฺฑ : (นปุ.) เครื่องกลึง.
  4. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  5. จุมฺพฏ, - ฏก : นป. เทริด, เชิง, เครื่องรองภาชนะ, หมอน
  6. จูฬา : (อิต.) หงอน, หงอนนกยูง, มวยผม, จุก, ผมจุก, ปิ่น ( เครื่องประดับสำหรับปักผมที่ มุ่นเป็นจุก ), จอม, ยอด, มกุฎ, มงกุฎ, หัว. จูฬฺ สญฺโจทนภาวกรเณสุ, อ.
  7. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  8. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  9. ฉทฺทน : (นปุ.) เครื่องมุงหลังคา, หลังคา. ยุ ปัจ.
  10. ฉทน : (นปุ.) การปิด, การบัง, ที่เป็นที่มุง, เครื่องมุง, หลังคา, ใบ, ใบไม้. ยุ ปัจ. ฉทส (ไตรลิงค์) หกและสิบ, สิบยิ่งด้วยหก, สิบหก.
  11. ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.
  12. ฉาทิย : นป. เครื่องมุง, เครื่องบัง, เครื่องปกปิด
  13. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  14. ฉิท : ค. ผู้ตัด, ผู้ทำให้แตก, ผู้ทำลาย, (นิยมใช้ในคำสมาส เช่น พนฺธนจฺฉิท = ผู้ตัดเครื่องผูก)
  15. ฉินฺนคนฺถ : ค. ผู้ไม่มีเครื่องผูกมัด, ผู้ไม่มีเครื่องร้อยรัด
  16. ฉินฺนสาฏก : ป., ค. ผ้าหรือเครื่องประดับขาดแล้ว; ผู้มีผ้าหรือเครื่องประดับขาด
  17. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  18. ชจฺจนฺธ : (วิ.) บอดแต่กำเนิด, บอดโดยกำเนิด. วิ ชาติยา อนฺโธ ชจฺจนฺโธ. ชาติ+อนฺธ สำเร็จโดยวิธีสนธิดังนี้ แปลง อิ เป็น ย เป็น ชาตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ รัสสะ อา เป็น อ รวมเป็น ชจฺจนฺธ รูปฯ ๓๓๖.
  19. ชจฺจนฺธกิจ : (วิ.) ประกอบในความบอดแต่ กำเนิด, ประกอบด้วยความบอดโดยกำเนิด วิ. ชจฺจนฺเธ ชจฺจนฺเธน วา นิยุตฺโต ชจฺจนฺชกิโย. กิย ปัจ.
  20. ชจฺจา : อิต. โดยชาติ, โดยกำเนิด
  21. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  22. ชเนติ : ก. ให้เกิด, ให้กำเนิด, ผลิตผล
  23. ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
  24. ชาติก : ค. มีชาติกำเนิด
  25. ชาติมนฺตุ : ค. ผู้มีชาติดี, ผู้มีกำเนิดดี, ผู้มีตระกูลสูง
  26. ชาติสุวรณฺณ : (นปุ.) ทองเกิดโดยกำเนิด, ทอง แต่กำเนิด, ทองธรรมชาติ, ทองคำธรรม ชาติ.
  27. ชาลิกา : (อิต.) เกราะ (เครื่องสวมใส่หรือหุ้ม สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย) ชลฺ ทิตฺติอปวารเณสุ, ณฺวุ, อิอาคโม. ส. ชาลปฺรายา.
  28. ชีร : (นปุ.) มีดสำหรับใช้เครื่องบูชา, เมล็ด ผักชี, เมล็ดยี่หร่า. ส. ชีร.
  29. ชีวนมตฺต : (วิ.) สักว่าเป็นเครื่องเป็นอยู่.
  30. ชีวิตปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปของชีวิต, ปัจจัยของชีวิต.
  31. ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
  32. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  33. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  34. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  35. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  36. เญยฺยธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่พึงรู้, ธรรมที่ควรรู้. วัตถุเครื่องปิด, ฯลฯ, วัตถุสำหรับปิด, ฯลฯ ผ้า ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ.
  37. : (ปุ.) เสียง, สำเนียง, เสียงร้อง. ฏี ปกฺขนฺทเน, อ. การปิด, การปกปิด, การกำบัง, เครื่องปิด, ฯลฯ ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ. นก. ฏิ ฏี วา อากาสคมเน, อ.
  38. ฏงฺก : ป. สิ่ง, เครื่องมือสกัดหิน
  39. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  40. ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
  41. ตณฺหาคทฺทุล : ป. เครื่องผูกคือตัณหา
  42. ตณฺหาสโยชน : นป. เครื่องผูกมัดคือตัณหา
  43. ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
  44. ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
  45. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  46. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  47. ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
  48. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  49. ตาฏงฺก : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู, ตุ้มหู ใหญ่. ส. ตาฏงฺก.
  50. ตาต : (อาลปนะ) ใช้เป็นคำเรียก แปลว่า พ่อ ( ไม่ใช่พ่อผู้ให้กำเนิดลูก ) เป็นคำสุภาพ ใช้เรียกได้ทั่วไป เอก. เป็น ตาต พหุ เป็น ตาตา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-708

(0.0303 sec)