Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, เครื่อง, กำเนิด, ไฟฟ้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, 708 found, display 201-250
  1. ตาปส : (ปุ.) บรรพชิตผู้มีธรรมเครื่องยัง กิเลสให้เร่าร้อน ( ย่างกิเลสให้แห้ง ). ตปฺ สนฺตาเป, โณ. ลง สฺ และ อ อาคม หรือ ลง สกฺ ปัจ. ทีฆะ ลบ กฺ ส. ตาปส.
  2. ตาลวณฺฏ : (นปุ.) พัด ( เครื่องโบก หรือ กระพือลม ), พัดใบตาล. ตาลวณฺเฏหิ กตฺตตา ตาลวณฺฏํ.
  3. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  4. ติรจฺฉานโยนิ : (อิต.) กำเนิดแห่งสัตว์ดิรัจฉาน.
  5. ติรจฺฉานโยนิก, - นิย : ค. ผู้เกิดในกำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน
  6. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  7. ติลตณฺฑุลสปฺปิผาณิตวตฺถจฺฉาทนาทิปุณฺณ : (วิ.) อันเต็มแล้วด้วยวัตถุ มีงาและข้าว สารและเนยใสและน้ำอ้อยและวัตถุเป็น เครื่องปกปิด มีผ้าเป็นต้น.
  8. ตุตฺต : (นปุ.) เครื่องแทงโคนหูช้าง, ปฏัก, ประตัก. หตฺถิโน กณฺณมูลวิชฺฌนกณฺฏโก ตุตฺตํ. ตุทฺ วฺยถเน, โต, ทสฺส โต.
  9. ตุมฺพ : (ปุ.) ตุมพะ ชื่อมาตราตวง ชื่อของ เครื่องตวง ( อาฬหก), ทะนาน, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, จักจั่น ( เต้าน้ำ หรือภาชนะดิน รูปคล้ายน้ำเต้า ใช้ใส่น้ำเดินทาง). ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ.
  10. ตุริย : (นปุ.) ดนตรี, เครื่องสาย, เครื่องดีดสีตีเป่า, หีบเสียง. กัจฯ และ รูปฯ เป็น ตูริย. ส. ตูร ตูรี.
  11. ตุริยงฺค : (นปุ.) เครื่องดีดสีตีเป่า. ตุริย+องฺค. เป็น ตุริยางฺค บ้าง.
  12. ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
  13. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  14. ทณฺฑปริสฺสาวน : นป. เครื่องกรองน้ำมีหู, เครื่องกรองน้ำมีที่ถือ
  15. ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
  16. ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
  17. ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
  18. ทพฺพสหาร : ป. การรวมวัตถุอันเป็นเนื้อหา, การรวบรวมอุปกรณ์อันเป็นเครื่องก่อสร้าง
  19. ทพฺพา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องจำกัดความชั่ว, ความดี. ทพฺพฺ หึสายํ, อ.
  20. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  21. ทสฺสิต : ๑. กิต. (อันเขา)แสดงแล้ว; ๒. ค. ผู้ (มีเครื่องแบบ) ปรากฏแล้ว, ผู้เตรียมเครื่องรบพร้อมสรรพแล้ว, ผู้สวมเกราะแล้ว
  22. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  23. ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
  24. ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
  25. ทานุปกรณ : นป. อุปกรณ์แห่งทาน, เครื่องถวายทาน
  26. ทารุภณฺฑ : (นปุ.) ภัณฑะอันบุคคลทำแล้ว ด้วยไม้, เครื่องไม้.
  27. ทิฏฺฐสโยชน : (นปุ.) กิเลสขาดเครื่องร้อยรัด คือทิฎฐิ, ความร้อยรัดคือทิฎฐิ, คสามร้อยรัดอันเกิดจากทิฎฐิ.
  28. ทิฏฺฐิสโยชน : นป. ทิฎฐิสังโยชน์, กิเลสเครื่องผูกสัตว์ในภพ คือทิฐิ, ความเห็นผิดซึ่งทำให้สัตว์ติดข้องอยู่ในภพ
  29. ทิพฺพปณฺณาการ : ป. เครื่องบรรณาการอันเป็นทิพย์
  30. ทิพฺพโยค : ป. เครื่องประกอบอันเป็นทิพย์, เครื่องผูกอันเป็นทิพย์
  31. ทิพฺพวิหาร : ป. ธรรมเครื่องอยู่อันเป็นทิพย์, ภาวะจิตที่ยิ่ง
  32. ทิพฺพวิหาราทิ : (วิ.) (การอยู่) มีการอยู่ของเทวดาเป็นต้น, (ธรรมเป็นเครื่องอยู่) มี การอยู่อันเป็นทิพย์เป็นต้น.
  33. ทิวิลฺล : นป. เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง
  34. ทุมฺเมธี : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องจำกัดซึ่ง กิเลสชั่ว, มีปัญญาเป็นเครื่องกำจัดเสียซึ่งกิเลสชั่ว. ทุกิเลส+เมธี.
  35. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  36. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  37. โทณ : (ปุ. นปุ.) โทณะชื่อเครื่องตวงอย่างหนึ่งเท่ากับ๔อาฬหกะอาฬหกะ๑เท่ากับ๔ปัตถุ.วิ.ทวติปวตฺตตีติโทณํ.ทุคมเน,โณ.ทุณฺวาคติยํหีสายญฺจ,โณ.
  38. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  39. ธมฺมกรก : ป. ธมกรก, เครื่องกรองน้ำ
  40. ธมฺมกลา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำอันเป็นธรรม.
  41. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  42. ธมฺมเทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดงซึ่ง ธรรม, การแสดงธรรม, การชี้แจงธรรม, การสอนธรรม.
  43. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  44. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  45. ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งะรรมเป็นเครื่องตรัสรู้คือการเลือกเฟ้นซึ่งธรรม ฯลฯ.
  46. ธมฺมสากจฺฉา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว กับเป็นเครื่องแสดงซึ่งธรรม, การสนทนาซึ่งธรรม, การสนทนาธรรม.
  47. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  48. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  49. ธิติ : (อิต.) ความทรงไว้, ปัญญาเป็นเครื่อง ทรง, ปัญญา, ธา ธารเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  50. ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-708

(0.0359 sec)