Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เตียนโล่ง, เตียน, โล่ง , then ตยนลง, เตียน, เตียนโล่ง, ลง, โล่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เตียนโล่ง, 811 found, display 501-550
  1. ปทวลญฺช : (ปุ.) รอยเป็นที่กดลง, รอยเท้า.
  2. ปนฺนธช : ค. ผู้ชักธงลงแล้ว, ผู้เสร็จสิ้นการต่อสู้แล้ว, เป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  3. ปนฺนภาร : ค. ผู้มีภาระอันปลงลงแล้ว, ผู้ปลงภาระลงแล้ว, ผู้หมดภาระ, ผู้เสร็จกิจ, ผู้หลุดพ้นแล้ว
  4. ปภาว : (ปุ.) เดชเกิดจากการมีอำนาจลง อาชญา, เดชเกิดแต่อาชญา, ( ทณฺฑโช เตโช ) , อำนาจ, ฤทธิ์. วิ. ปภวนฺติ เตชสฺ สิโน อเนเนติ ปภาโว. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ.
  5. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  6. ปรนิฏฺฐิต : ค. ซึ่งผู้อื่นให้สำเร็จ, ซึ่งผู้อื่นทำให้สำเร็จสิ้นแล้ว, ซึ่งผู้อื่นให้จบลงแล้ว
  7. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  8. ปริโต : (อัพ. นิบาต) โดย...ทั้งปวง, แต่...ทั้ง ปวง, ใน...ทั้งปวง, โดยรอบ. ปริ+โต ปัจ. รูปฯ ๒๘๒ ว่า โต ปัจ. ลงในอรรถ ตติยา ปัญจมี และ สัตตมี.
  9. ปริปาเตติ : ก. โจมตี; ล้มลง; ฆ่า; เสื่อม
  10. ปริยาปนฺน : กิต. นับเนื่องแล้ว, หยั่งลงแล้ว, ถึงที่สุดแล้ว
  11. ปริโยคาหติ : ก. หยั่งดู, หยั่งลง, ดำ, รุกเข้าไป
  12. ปริโยคาหน : นป. การหยั่งดู, การหยั่งลง, การรุกเข้าไป
  13. ปริโยคาฬฺห : กิต. หยั่งแล้ว, หยั่งลงแล้ว, รุกเข้าไปแล้ว, ดำแล้ว
  14. ปลุคฺค : กิต. พังลงแล้ว, ทะลายแล้ว, ทำลายแล้ว
  15. ปลุชฺชติ : ก. พังลง, ทลาย, ทำลาย
  16. ปลุชฺชน : นป. การพังลง, การทลาย, การทำลาย
  17. ปาโรห : ป. รากไม้ที่ย้อยลงมาจากกิ่ง (เช่น ต้นไทร)
  18. ปุรตฺถา : (อิต.) ทิศตะวันออก, ทิศบูรพา. ปุรปุพฺโพ, ภา คตินิวุตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ จัดเป็น อัพ.นิบาต ลงในอรรถทิศตะวันออก.
  19. ผาสุลิกา : (อิต.) สีข้าง, ซี่โครง. รากศัพท์เหมือนผาสุกา ต่างแต่ลง ลิ อาคมหน้า ก. อภิฯ
  20. พฺยวหาร : (ปุ.) การนำลงพิเศษ, ธรรมเนียม. วิ+อวหาร.
  21. พินฺทุพินฺทุ : อ. หยดติ๋งๆ , หยดลงทีละหยาดๆ
  22. พุทฺธทตฺต : (วิ.) อันพระพุทธ เจ้าทรงประทานแล้ว วิ. พุทฺเธน ทินฺโน พุทฺธทตฺโต. แปลงทินฺน เป็น ทตฺต.
  23. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  24. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  25. ภสฺสติ : ก. พัง, หล่น, ตก, โฉบลง
  26. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  27. ภุญฺชน : (นปุ.) ของอัน...พึงกิน, ของกิน, การกิน, การบริโภค, การใช้สอย. ภุชฺ อชฺโฌหรเณ, ยุ. ลงนิคคหิตอาคม.
  28. ภูตปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ในกาลเคยเป็นแล้ว, ในกาลเคยมีแล้ว, ในกาลเคยมีมาแล้ว. นิบาตลงในอรรถกาลสัตมี รูปฯ ๒๘๒.
  29. เภสม เภสฺม : (นปุ.) ความพึงกลัว, ความน่าสพึงกลัว. ภี ภเย, สฺมปจฺจโย. ศัพท์ต้นลง อ ปัจ. ประจำธาตุ.
  30. โภต โภตี : (วิ.) ผู้เจริญ. ภู สตฺตายํ. อนฺต ปัจ. เป็น ภวนฺต แปลงเป็น โภต ศัพท์หลังลง อี อิต.
  31. มจฺจุ : (ปุ.) ความตาย วิ. มรณํ มจฺจุ. จุ ปัจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือลง ตฺยุ ปัจ. แปลงเป็น จุ ซ้อน จฺ หรือแปลง ตฺยุ เป็น จฺจุ อภิฯ รูปฯ ๖๔๔.
  32. มธุกา : (อิต.) ชะเอมเครือ. มธุรรสตาย มธุกํ. ก ปัจ. ลงในอุปมาณ. ฎีกาอภิฯ
  33. มนฺทตา : อิต., มนฺทตฺต นป. ความลดน้อยลง, ความช้า, ความโง่เง่า
  34. มสก : (ปุ.) ริ้น, ยุง, บุ้ง, ร่าน. มสฺ หึสาสทฺเสสุ, อ. ก สกัด หรือลง ณฺวุ ไม่ทีฆะ.
  35. มหาโมหตโมนทฺธ : (วิ.) อันมืดคือโมหะใหญ่หุ้มห่อแล้ว, อันมืดคือโมหะใหญ่รัดลงแล้ว.
  36. มหิส : (ปุ.) สัตว์ผู้บูชาเจ้าของ, สัตว์ผู้นอนบนแผ่นดิน, ควาย, กระบือ, กาสร. มหฺ ปูชายํ, อิโส. มหีปุพฺโพ วา, สี สเย, อ, รสฺโส. ลงนิคคหิตอาคม เป็น มหึส บ้าง. เป็น มหีส เพราะไม่รัสสะอี ก็มี.
  37. มาตุลานี : (อิต.) ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้ (ภรรยาของพี่ชายแม่ ภรรยาของน้องชายแม่). วิ. มาตุลสฺส ภริยา มาตุลานี. มาตุล+อี อิต. เพราะลง อี ปัจ. ให้เอา อ ที่ ล เป็น อาน รูปฯ ๑๘๙. ในบางแห่งแปลว่า ป้า น้า ซึ่งเป็นพี่น้องของพ่อก็มี ?
  38. มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  39. มุหุ : (อัพ. นิบาต) บ่อยๆ , เนืองๆ, มาก. รูปฯ ว่าเป็นนิบาตลงในกาลสัตตมี.
  40. เมตฺตมฺพเสกวิธิ : (ปุ.) พิธีอันรดลงด้วยน้ำ คือ เมตตา.
  41. ยาคุ : (ปุ.) ข้าวต้ม, ข้าวยาคู ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวอ่อน คือ เกี่ยวเอารวงข้าวที่ยังเป็นน้ำนม คั้นเอาแต่น้ำนมใส่ภาชนะตั้งไฟเคี่ยว ใส่น้ำตาล เคี่ยวพอข้นเหนียวจึงยกลง มีกลิ่นหอม รับประทานอร่อย. ยา ปุณเน, คุ. มิสฺสเน วา, คุ, อุสฺสา.
  42. โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
  43. ลุชฺชน : นป. การแตก, การสิ้นสุดลง, การทำลาย
  44. วิคยฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว
  45. วิคาหติ : ก. หยั่งลง
  46. วิคาหน : นป. การหยั่งลง
  47. โวกฺกนฺติ : นป. การก้าวลง
  48. โวกฺกมติ : ก. ก้าวลง
  49. โวโรปน : นป. การยกลง
  50. โวโรเปติ : ก. ยกลง, ปลงลง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-811

(0.0418 sec)