Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เตียนโล่ง, เตียน, โล่ง , then ตยนลง, เตียน, เตียนโล่ง, ลง, โล่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เตียนโล่ง, 811 found, display 701-750
  1. อาทหติ : ก. วางลง, สวมใส่, จุดไฟ, เผา
  2. อานน : (นปุ.) ปาก, หน้า (หน้าตา), ช่อง, ประตูป่า.วิ.อนฺนติอสฺสสนฺติอเนนาติอานนํ.อนฺปาณเน, ยุ.อสฺภกฺขเณวา, ทีโฆ.แปลงสเป็นน.ส.อานน.
  3. อานาเมติ : ก. ให้น้อมลง, เอนลง, แอ่นลง
  4. อาปตติ : ก. ตกไป, หล่นไป, ล้มลง, รีบร้อน
  5. อาปทา : (อิต.) ธรรมชาติอันยัง สัตว์ให้ถึงซึ่งความลำบาก, อันตราย, จัญไร, ภัย, พิบัติ.วิ.อาปชฺชนํอาปทา.อฏฺฏํปีฬนํปชฺชตีติวาอาปทา.อาปุพฺโพ, ปทฺคติยํ, อ.อาอุปสรรคลงในอฏฺฏส. อาปทา.
  6. อามณฺฑ : (ปุ.) ไม้ละหุ่ง, เทพทาโรชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกหอมใช้ทำยา, แฟงชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งมีผลกลมยาวแต่ผลเล็กกว่าฟักวิ.อามํวาตํทายตีติอามณฺโฑ.อามปุพฺ-โพ, ทา อวขณฺฑเน, อ, ทสฺส โฑ.ลงนิคคหิตอาคมแล้วแปลงเป็นณฺอถวา, อาปุพฺโฑ, มณฺฑฺภูสเน, อ. อีสํปสนฺนเตล-ตายอามฌฺโฑ.ส.อามณฺฑ.
  7. อายต : (วิ.) กว้าง, กว้างขวาง, ยาว, ยืด, แผ่ออกไป.อาปุพฺโพ, ยตฺอายเต, อ.อิคมเนวา.โต.แปลงอิเป็นเอ เอ เป็นอย ทีฆะ.ส.อายต.
  8. อายุรเวชฺช : (ปุ.) หมอผู้รักษาชีวิตวิ.อายุโรเวชฺโชอายุรเวชฺโช.หมอผู้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชีวิตวิ.อายุสฺโสเวชฺโชอายุร-เวชฺโช.ลบสฺสังโยคแปลงสเป็นรตามวิธีของสันสกฤต, อายุรแพทย์(หมอผู้รักษาชีวิตของคนไข้ด้วยการใช้ยา ). ส. อายุ-รไวทฺย.
  9. อาริสอาริสฺส : (วิ.) นี้ของฤาษี. ณ ปัจ. ราคาทิตัทแปลงอิเป็นอาศัพท์หลังซ้อนสฺ.
  10. อาสุมฺภติ : ก. โยนลง, ทิ้งลง
  11. อาหจฺจ : (ปุ.) การจรด (เอาของมาชนกัน), การชน, การชนกัน. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โจ, จสฺส จฺโจ, รฺโลโป. หรือลง ริจฺจ ปัจ. ลบ รฺ และ ริ.
  12. อิสุธิ : ป., อิต. กระบอกบรรจุลูกศร, แล่ง
  13. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  14. อุจฺจ : (อัพ. นิบาต) ใหญ่, สูง. สัททนีติ และ รูปฯ ลงในอรรถแห่งสัตมี. อภิฯ ลงใน สัตมีและวิภัติอื่น.
  15. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  16. อุทโกโรหก : ค. ผู้ลงอาบน้ำ
  17. อุทโกโรหน : นป. การลงอาบน้ำ
  18. อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
  19. อุทฺธ : (อัพ. นิบาต) ข้างบน, เบื้องบน, เบื้องสูง, เหนือ, นอกเหนือไป, เลย, เกิน, ใน เบื้องบน, ในเบื้องสูง. อภิฯ และ รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรถสัตมี.
  20. อุทฺธรตฺต : (นปุ.) กึ่งแห่งราตรี.อทฺธ+รตฺติแปลงอิเป็นอ.
  21. อุทริย : (วิ.) มีในท้อง วิ. อุทเร ภวํ อุทริยํ. อิย ปัจ. เป็น อุทรีย โดยลง อีย ปัจ. บ้าง.
  22. อุท อุทก : (นปุ.) น้ำ. วิ. อุทติ อุทฺทติ วา ทฺรวํ กโรตีติ อุทํ อุทกํ วา. อุทิ อุทฺทฺ วา ปสวนเกฺลทเนสุ, อ, โก. ถ้าตั้ง อุทฺทฺ ลบ ทฺ สังโยค. ศัพท์หลังลง ณฺวุ ปัจ. ก็ได้. ส. อุท อุทก.
  23. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  24. อุปนต : กิต. น้อมเข้าไปแล้ว, โน้มลงแล้ว
  25. อุปนิกฺขิปติ : ก. วางลง, ตั้งไว้, ตั้งไว้ข้างๆ
  26. อุปนิกฺขิปน : นป. การวางลง, การตั้งไว้, การวางดักไว้
  27. อุปปีฬกกมฺม : (นปุ.) กรรมบีบคั้น, กรรม เบียดเบียนกรรมอื่น ๆ (ได้แก่ อกุศลกรรม ๑๒ มหากุศลกรรม ๘), อุปปีฬกกรรม (กรรมที่เบียดเบียนชนกกรรมซึ่งให้ผลอยู่ แล้วให้มีกำลังลดลง กรรมที่เบียดเบียนรูป นามซึ่งเกิดจากชนกกรรมให้มีกำลังลดลง).
  28. อุปาสงฺค : ป. แล่ง, กระบอกบรรจุลูกศร
  29. อุโปสถทิวส : (ปุ.) วันอุโบสถ คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันที่พระสงฆ์ลง อุโบสถฟังสวดพระปาติโมกข์ สำหรับ อุบาสกอุบาสิกา คือวันขึ้น ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันรักษาศีลฟัง ธรรม.
  30. อุมฺมุกฺก : กิต. ตกลงแล้ว, ดำลงแล้ว; คลายแล้ว
  31. อุมฺมุชฺชนิมุชฺชา : อิต. การโผล่ขึ้น, และดำลง
  32. อุรภ : (ปุ.) แกะ, แพะ, เนื้อทราย, อูฐ. ไม่ลง นิคคหิตอาคม.
  33. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  34. อุฬุป อุฬุปฺป อุฬุมฺป : (ปุ.) พวง (กลุ่มของที่ ห้อยย้อยไปทางเดียวกัน), แพ (กลุ่มของที่ เอามาผูกติดกันเป็นพาหนะทางน้ำ), ป่าไม้ (ดื่มน้ำไว้ ซับน้ำไว้ รักษาน้ำไว้). อุปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ ศัพท์ ที่ ๓ ลงนิคคหิตอาคม แล้วแปลง เป็น มฺ.
  35. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  36. เอกก : (วิ.) ผู้เดียว, ผู้ผู้เดียว, วังเวง, ไม่มี เพื่อน, ตัวคนเดียว, ก ปัจ. ลงในอรรถว่า ไม่มีเพื่อน อสหายตฺเถ กปจฺจโย. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
  37. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  38. เอกมนฺต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, ด้วย แท้, รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรภสัตมี แปล ว่า ในที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ในที่แห่งหนึ่ง, ณ ที่แห่งหนึ่ง.
  39. เอตฺถ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. เอต แปลงมาจาก อิม ถ ปัจ ลบ อ ที่ ต อภิฯ. หรือลง ตฺถ ปัจ. แปลง เอต เป็น เอ.
  40. โอ : (อัพ. นิบาต) ลง, ต่ำ, ลามก, เลว, ทราม, เลวทราม.
  41. โอกฺกนฺต : กิต. ก้าวลงแล้ว, ปฏิสนธิแล้ว
  42. โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  43. โอกฺกมติ : ก. ก้าวลง, ปฏิสนธิ
  44. โอกฺกมน : (นปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  45. โอกฺกมนฺต : กิต. การก้าวลง, การเข้าไปหา
  46. โอกฺกมฺม : กิต. ก้าวลงแล้ว,หยั่งลงแล้ว
  47. โอกฺขิตฺตจกฺขุ : (วิ.) มีตาทอดลงแล้ว, มีตา ทอดลง.
  48. โอกสฺสติ : ก. ดึงลง, ลากไป, เคลื่อนไป
  49. โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
  50. โอกีรณ : (นปุ.) การเรี่ยรายลง, การโปรยลง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-811

(0.0420 sec)