Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดำรงอยู่, อยู่, ดำรง , then ดำรง, ดำรงอย, ดำรงอยู่, อย, อยู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดำรงอยู่, 878 found, display 301-350
  1. นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
  2. นาคร, (นาคริก) : ค. ผู้อยู่ในเมือง, ชาวเมือง, อย่างชาวเมือง, สุภาพ, อ่อนโยน
  3. นานาสวาส : ป., ค. การอยู่ร่วมโดยมีธรรมวินัยต่างกัน, มีสังวาสต่างกัน
  4. นานาสวาสก : ค. ผู้อยู่ร่วมในธรรมวินัยต่างกัน, ผู้อยู่ในคณะต่างกัน
  5. นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
  6. นาวิถี : อิต. คนเรือผู้หญิง, หญิงผู้อยู่ในเรือ
  7. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  8. นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
  9. นิเกตวนฺตุ : ค. ผู้มีบ้าน, มีที่อยู่อาศัย, ผู้อยู่บ้าน
  10. นิเกตวาสี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในบ้านหรือในสำนัก
  11. นิเกตี : ค. ผู้มีบ้าน, ผู้อาศัยอยู่ในบ้าน
  12. นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
  13. นิโคฺรธาราม : (ปุ.) นิโครธาราม ชื่อวัดอยู่ใน เมืองกบิลพัสดุ์ ซึ่งเจ้าศากยะสร้างถวาย.
  14. นิจฺจสีล : นป. ศีลซึ่งรักษาอยู่เป็นนิตย์
  15. นิปลาวิต : ค. ซึ่งลอยน้ำ, ซึ่งลอยอยู่ในน้ำ
  16. นิพฺพิสย : ค. ผู้ไม่มีที่อยู่ที่อาศัย, ผู้ถูกเนรเทศ, ผู้ถูกไล่
  17. นิรามิสุข : (นปุ.) สุขมีเหยื่อออกแล้ว, ฯลฯ, นิรามิสุข สุขไม่มีอามิสคือเป็นสุขอยู่เอง. ไม่ต้องมีสิ่งใดเป็นเครื่องล่อใจ เป็นสุขของ พระอรหันต์.
  18. นิราลยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีที่อยู่อาศัย
  19. นิรีห, นิรีหก : ค. ไม่เคลื่อน, ไม่หวั่นไหว, นิ่ง, อยู่เฉยๆ
  20. นิลย : (ปุ.) เรือน, รัง, ที่อยู่. นิปุพฺโพ. ลิ สิเลสเน, โณ. ส. นิลย.
  21. นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
  22. นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
  23. นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
  24. นิวาสน : (นปุ.) การอยู่, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  25. นิวาสนภูมิ : อิต. ภูมิเป็นที่อาศัยอยู่, สถานที่อยู่อาศัย
  26. นิวาสิก, นิวาสี : ค. ผู้อยู่, ผู้อาศัย, ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย
  27. นิวาเสติ : ก. ประดับ, ตกแต่ง, แต่งตัว, นุ่งห่มให้อยู่
  28. นิวุตฺถ : ค. ซึ่งอยู่แล้ว, อาศัยแล้ว
  29. นิเวส : ป. นิเวส, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้านเรือน, การตั้งภูมิลำเนาอยู่
  30. นิสฺสย : ป. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ความประพฤติที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน
  31. เนกายิก : ค. ผู้ตั้งอยู่ในนิกาย, ผู้ชำนาญนิกาย
  32. ปจฺจนฺตวาสี : ป. ผู้อยู่สุดแดน
  33. ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ ๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
  34. ปฏิฏฺฐหติ : ก. ตั้งมั่น, ดำรงมั่น, ยืนมั่น
  35. ปฏิตฺถมฺภติ : ก. ยึดมั่น, ดำรงมั่น, ยัน
  36. ปฏิติฏฺฐติ : ก. ตั้งอยู่เฉพาะ, กลับตั้งขึ้น, ตั้งขึ้นอีก
  37. ปฏิปกฺขิก : ค. ซึ่งเป็นไปในฝ่ายตรงข้าม; ซึ่งอยู่ในฝ่ายตรงข้าม, อันเป็นปฏิปักษ์
  38. ปฏิปากติก : ค. ซึ่งกลับเป็นปกติ, ซึ่งคืนตัว, ซึ่งอยู่ในสภาพปกติ
  39. ปฏิพทฺธ : ค. ซึ่งเกี่ยวเนื่อง, ซึ่งเนื่องอยู่, ซึ่งอาศัย, อันติดอยู่, อันผูกพัน
  40. ปฏิพนฺธ : ค. ซึ่งผูกพัน, ซึ่งติดอยู่, อันเกี่ยวข้อง, อันเนื่องด้วย
  41. ปฏิมุข : ค. ตรงข้าม, ซึ่งอยู่เฉพาะหน้า, ซึ่งเผชิญหน้า, เฉพาะหน้า, ต่อหน้า
  42. ปฏิรูปเทสวาส : ป. การอยู่ในประเทศอันสมควร, การอยู่ในถิ่นที่เจริญ
  43. ปฏิวสติ : ก. อยู่อาศัย, พำนัก
  44. ปฏิสงฺขยนฺต : กิต. พิจารณาอยู่
  45. ปฏิสลฺลีน : ค. ผู้หลีกเร้น, ผู้ปลีกตัวอยู่
  46. ปฏิสลฺลียติ : ก. หลีกเร้น, ปลีกตัวหลบอยู่ (ในที่สงบ)
  47. ปฏิหาหิร : ค. ซึ่งมีในภายนอก, ซึ่งอยู่ภายนอก, ซึ่งเร่ร่อนไม่มีที่อยู่
  48. ปณิธาย : อ. ตั้งไว้แล้ว, ดำรงไว้แล้ว, ตั้งความปรารถนาแล้ว, มุ่งหวังแล้ว
  49. ปตฺตคต : ค. ซึ่งอยู่ในบาตร
  50. ปตฺถยาน : กิต. ปรารถนาอยู่, มุ่งหวังอยู่
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-878

(0.0420 sec)