Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทุติยภูมิ, ทุติย, ภูมิ , then ทตย, ทุติย, ทุติยภูมิ, ทุติยะ, ทุติยา, ภม, ภุมิ, ภูมิ, ภูมี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทุติยภูมิ, 92 found, display 51-92
  1. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  2. จตุภูมก, - มิก : ค. มีสี่ภูมิ, มีสี่ชั้น
  3. จตุภูมิกจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นไปในภูมิสี่ จิต อันเป็นประกอบในภูมิสี่.
  4. ญตฺติทุติยกมฺม : (นปุ.) กรรมมีวาจาครบสอง ทั้งญัตติ, ญัตติทุติยกรรม คือการสวด – ประกาศมีญัตติเป็นที่สอง กรรมอันทำด้วย ตั้งญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว.
  5. เตภูมิ : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
  6. เตภูมิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นไปในภูมิสาม.
  7. เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
  8. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  9. ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
  10. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  11. ปปุปฺผก : (นปุ.) ที่เป็นที่บานไสว, เตภูมิ- กวัฏฏะเป็นที่เบิกบาน, ลูกธนูที่มีดอกไม้ ใส่ปลาย, ลูกดอก.
  12. ปริตฺตาภา : (อิต.) ภูมิเป็นที่เกิดของพรหม- ปริตตาภะ, ภูมิเป็นที่อยู่ของพรหม- ปริตตาภะ.
  13. ปิตฺติวิสยิก : ค. อันเนื่องด้วยภูมิแห่งเปรต, อันเนื่องด้วยโลกผีหรือดินแดนแห่งผี
  14. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  15. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  16. สพฺพภมฺม : (ปุ.) จักรพรรดิราช, พระเจ้าจักรพรรดิ. วิ. สพฺพภูมิยา อิสฺสโร สพฺพภุมฺโม. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  17. สภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกัน, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว, ภูมิที่ประชุม, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมกัน, การชุมนุมกัน, การเจรจากัน. วิ. สนฺเตหิ ภาติ ทิปฺปตีติ สภา(ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ). สนฺตปุพฺโพ. ภาทิตฺติยํ, กฺวิ. สนฺตสฺส สาเทโส. สํคมฺม ภนฺติ เอตฺถาติ วา สภา. ภา อาขฺยาเน. สห ภนฺติ ยสฺสนฺติ วา สภา. หโลโป. สพฺพมฺหิ ภาตีติ วา สภา. ส. สภา.
  18. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  19. สมิต : (อิต.) ที่ประชุม, ภูมิที่ประชุม, บริษัท, วิ. สมยนฺติ มีลนฺตยสฺสนฺติ สมิติ. สํปุพฺโพ, อิ คติยํ, ติ. ส. สมิติ.
  20. สุคติ : (อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ สุคติ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
  21. อคติ : (อิต.) ธรรมชาติมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ธรรมชาติมิใช่เครื่องไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งท่านผู้รู้, กิริยาที่ไม่ควรถึง, กิริยาที่ไม่ควรประพฤติ, คติไม่ควร.นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป.ความลำเอียง. อคฺ กุฏิลคติยั, ติ. ส. อคติ.
  22. อนุสาวนา : (อิต.) อนุสาวนาชื่อคำสำหรับสวดในสังฆกรรมที่เป็นญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรม.
  23. อุณหภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งความร้อน, ระดับ แห่งความร้อน, อุณฺหภูมิ (ระดับแห่ง ความร้อนเย็นของอากาศ).
  24. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  25. ภมุ ภมุก : (ปุ.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  26. ภมุ, ภมุกา : อิต. คิ้ว
  27. ภีม : (วิ.) เป็นแดนกลัว, น่ากลัว, ดุร้าย. ภี ภเย, โม. รูปฯ ๖๓๖ ลง มนุ ปัจ. ลบ นฺ.
  28. ภีม, ภีสน : ค. น่ากลัว
  29. ภูม : (ปุ.?) ภพ.
  30. ภูม ภูมก : (ปุ.) ชั้น, ขอบเขต, พื้น, พื้นดิน, สถานที่.
  31. เภม : (ปุ.) สภาพอันสัตว์พึงกลัว. ภี ภเย, โม.
  32. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  33. ทารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, ทารก คือเด็กที่ ยังไม่เดียงสา เด็กแบเบาะ มติทาง ศาสนาว่าเด็กตั้งแต่คลอดถึง ๖ ขวบ. วิ. ทรติ กีฬวเสน ภูมี วิลิขตีติ ทารโก. ทรฺ วิทารเณ, ณวุ. ส. ทารก.
  34. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  35. ภมการ : (ปุ.) ช่างกลึง. ภม+การ.
  36. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  37. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  38. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  39. ภมร : (ปุ.) ผึ้ง, แมลงผึ้ง, แมลงภู่, ภมร, ภมริน, วิ. ปุปผมตฺถเก ภมตีติ ภมโร. ภมุ อนวฏฺฐเน, อโร. แปลว่าเครื่องกลึง ก็มี.
  40. ภิงฺคราช : (ปุ.) ตองแตก ชื่อต้นไม้ เถาใบเป็นสองแฉก. วิ. ภมตีติ ภิงฺโค วุจฺจติ ภมโร. ตพฺพณฺรํ กตฺวา เตสํ รญฺเชตีติ ภิงฺคราโช.
  41. องฺคณ : (นปุ.) กิเลสชาตเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสชาตเป็นเครื่องถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสเพียงดังเนิน, กิเลสยวนใจ, กิเลสเครื่องยียวน, มลทิน, เปลือกตม, เนิน, ลาน, ลานข้าว, ที่ว่าง, ที่โล่งแจ้ง, ภุมิภาค.องฺค คมเน, ยุ, นสฺส โณ (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุเป็น ณ).
  42. 1-50 | [51-92]

(0.0435 sec)