Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 551-600
  1. ขุทฺทฆณฺฏิกา : (อิต.) ลูกพรวน, ลูกดุม, ดุม, กระดุม. วิ. ขุทฺทา เอวฆณฺฏา ขุทฺทฆณฺฏิกา. สกตฺเถ โก, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
  2. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  3. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  4. โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  5. คงฺเคยฺย : (วิ.) เกิดในแม่น้ำคงคา, อยู่ในแม่น้ำ คงคา. วิ. คงฺคาย ชาโต คงฺเคยฺโย. คงฺคาย วสตีติ คงฺเคยฺโย. เณยฺย ปัจ. ราคาทิตัท. รูปฯ ๓๖๒.
  6. คทฺธ คนฺธ : (ปุ.) แร้ง, นกแร้ง. คทฺธ อภิกงฺขายํ, อ. อภิฯ เป็น คิทฺธิ ธาตุ แปลง อิ ที่ คิ เป็น อ ศัพท์ หลัง คิธฺ อภิกงฺขายํ. แปลง อิ เป็น อ และ ลงนิคคหิตอาคม.
  7. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  8. คนฺธิก : (วิ.) มีกลิ่น. วิ. คนฺโธ อสฺส อตฺถีติ คนฺธิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ลง ณิก ปัจ. ผู้มีของหอมเป็นสินค้า วิ. คนฺโธ อสฺส ภณฺฑนติ คนฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  9. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  10. คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺย แปลง มฺย เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  11. คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
  12. คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
  13. คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
  14. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  15. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  16. คิมฺห : (ปุ.) เดือนเกิดแล้วในฤดูร้อน วิ. คิเมฺห ชาโต คิโมฺห. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รุปฯ ๓๖๒.
  17. คิหิ : (ปุ.) คนมีเรือน, คนครองเรือน, คนมิใช่ นักบวช, คฤหัสถ์. วิ. คห เมตสฺสาตฺถีติ คิหิ. คห ศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อี เป็น อิ และ แปลง อ ที่ ค เป็น อิ หรือ ตั้ง เคห ศัพท์ เอา เอ เป็น อิ เป็น คิหี โดยไม่รัสสะบ้าง.
  18. คุฏฺฐ : (ปุ.) แม่มือ, หัวแม่มือ. กุฏ+ฐ แปลง กุ เป็น คุ ลบ อ ที่ ฏ.
  19. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  20. เคณฺฑุก : (ปุ.) ลูกคลี, ลูกคลีหนัง, ฟุตบอลล์ ตะกร้อหนัง, ตะกร้อ? , กลุ่ม. คุฑิ เวฐเน, คุทฺ กีฬายํ, ณุโก, อุสฺเส. ธาตุแรก ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ ธาตุหลังแปลง ทฺ เป็น ณฺฑ.
  21. เคป : (วิ.) ไหว, เคลื่อนไหว. กปิ จลเน, อ. แปลง ก เป็น ค แปลง อ ที่ ค เป็น เอ.
  22. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  23. โคปฺผิม : (วิ.) เกิดที่เท้า, มีที่ข้อเท้า. โคปฺผ ศัพท์ อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  24. โครกฺข : (ปุ.) ชาวนา, ชาวไร่. วิ. คํ ปฐวึ รกฺขตีติ โครกฺโข. คปุพฺโพ, รกฺขฺ ปาลเน, อ, อสฺโส (แปลง อ ที่ ค เป็น โอ).
  25. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  26. โฆรวิส : (วิ.) มีพิษร้ายแรง, มีพิษกล้า. วิ. วิสํ อสฺส โฆรนฺติ โฆรวิโส ณ ปัจฺ ราคาทิตัท.
  27. โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  28. จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
  29. จตุปท จตุปฺปท จตุปาท จตุปฺปาท : (วิ.) มีเท้า สี่ (สี่เท้า)วิ. จตฺตาริ ปทานิ เอตสฺสาติ จตุป โท, ฯลฯ
  30. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  31. จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
  32. จนฺทคาห จนฺทคฺคาห : (ปุ.) การจับซึ่งดวง จันทร์, การยึดดวงจันทร์, จันทคาธ, จันทรคาธ, จันทคราส, จันทรคราส (ราหู จับจันทร์ ราหูอมจันทร์ วิทยาศาสตร์ว่า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ ในแนวเดียวกัน โลกอยู่ระหว่างกลางทำ ให้เงาของโลกไปบังดวงจันทร์).
  33. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  34. จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
  35. จมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยหนัง, หุ้มด้วยหนัง, สรวมเกราะ, ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  36. จาตุพฺเพท : ป. พระเวทสี่ (ใช้เฉพาะในรูปพหุวจนะ = จาตุพฺเพทา)
  37. จิตฺต : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยฤกษ์จิตตา, เดือน จิตตะ, เดือนห้า. วิ. จิตฺตาย ยุตฺโต มาโส จิตฺโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  38. จิตฺร : (นปุ.) สี, การฉาบทา, ท้องฟ้า ?
  39. จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
  40. จุจิ : (นปุ.) ทรวง, ทรวงอก, หน้าอก. จิกฺ อามสเน, อิ. แปลง อิ ที่ จิ เป็น อุ แปลง กฺ เป็น จฺ.
  41. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  42. เจตสิก : (วิ.) อันเป็นไปในจิต วิ. เจตสิ สํวตฺตตีติ เจตสิโก. อันประกอบในจิต วิ. เจตสิ นิยุตฺโต เจตสิโก. อันมีในจิต วิ. เจตสิ ภวํ เจตสิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  43. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
  44. ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
  45. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  46. ฉปท ฉปฺปท : (ปุ.) สัตว์มีเท้าหก, ผึ้ง, แมลงภู่. วิ. ฉ ปทานิ อสฺสาติ ฉปโท ฉปฺปโท วา.
  47. ฉพฺพคฺคิย : (วิ.) มีพวกหก. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท
  48. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  49. ฉมา : (อิต.) แผ่นดิน วิ. สตฺตานํ อโธปตนํ ฉินฺทตีติ ฉมา. ฉิ เฉทเน, โม อิสฺสตฺตํ. อถวา, ฉมนฺติ เอตฺถาติ ฉมา. ฉมฺ คติยํ, อ. ขมุ สหเณ วา, อ, ขสฺส โฉ.
  50. ฉวิ : (วิ.) งาม, รุ่งเรือง, เปล่งปลั่ง, ผ่องใส, สุกใส, ฉิ ทิตฺติยํ, ณิ. แปลง อิ ที่ ฉิ เป็น อุ พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0628 sec)