Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 701-750
  1. นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  2. นิวตฺถปารุปนมตฺต : (วิ.) สักว่าผ้าอันบุคคล นุ่งแล้วและผ้าสำหรับห่ม. เป็น สัม. กัม. มี ส. ทวัน. เป็นท้อง.
  3. ปฏฺฏน : นป. ท่า, เมืองท่า, เมืองใกล้เมืองท่า
  4. ปตฺตงฺค : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยจันทน์แดง วิ. ปตฺตงฺเคน รตฺตํ วตฺถํ ปตฺตงฺคํ ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  5. ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
  6. ปติตฺถ : นป. ท่า, ท่าน้ำ, ฝั่งน้ำ
  7. ปถวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ, ออาคโม. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว อุ ที่ ปุ เป็น อ อี อิต. อถวา,ปถวติ เอตฺถา ติ ปถวี. ปปุพฺโพ, ถวฺ คติยํ. สพฺพตฺถ ปตฺถ รตีติ วา ปถวี. ปปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, รสฺส โว. รูปฯ ๖๖๐ แปลง ปุถ เป็น ปุถุ, ปถ. ที่เป็น ปฐวี เพราะแปลง ถ เป็น ฐ.
  8. ปถาวี ปถิก : (ปุ.) คนไปในหนทาง, คนไปสู่ หนทาง, คนเดินทาง วิ. ปเถ ปถํ วา คจฺฉตีติ ปถาวี. วี ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ถ เป็น อา. อภิฯ ลง วี ปัจ.รูปฯ และ โมคฯ ลง อาวี ปัจ. ศัพท์ หลัง วิ. เหมือน ปถาวี. อภิฯ ลง อิก ปัจ.รูปฯ ลงณิก ปัจ.
  9. ปทาฬน : นป. ดู ปทาลน
  10. ปทาเฬติ : ก. ดู ปทาเลติ
  11. ปธวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว แปลง อุ ที่ ปุ เป็น อ แปลง ถ เป็น ธ อี อิต. รูปฯ ๖๖๐.
  12. ปรกฺกมาธิคตสมฺปท : (วิ.) ผู้มีสมบัติอันได้แล้ว ด้วยความเพียร วิ. ปรฺกกเมน อธิคตาสมฺปทา เยหิ เต ภวนฺติ ปรฺกกมาธิคตสมฺปทา. รูปฯ ๓๔๑.
  13. ปรกิย : (วิ.) นี้ของคนอื่น วิ. ปรสฺส อยนฺติ ปรกิโย. อิยปัจ. ราคาทิตัท.
  14. ปราค : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
  15. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  16. ปากเตล : นป. น้ำมันงาที่เคี่ยวให้เดือดแล้วสำหรับใช้ทาตัว
  17. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  18. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  19. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  20. ปุลวน : (วิ.) ลอยไป, ปลิวไป. ปลฺ คติยํ, ยุ. วฺ อาคม แปลง อ ที่ ป เป็น อุ.
  21. ปุลสก : (ปุ.) ก้อนเส้า (ก้อนดินหรือก้อนอิฐก้อนหินที่เอามาตั้งเป็นหลักต่างเตาตั้งเป็นสามเส้าสำหรับต้มแกง). ปุลุสุ อุปทาเห, อ, สตฺเถ โก.
  22. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  23. โปกฺขรสาตก : (ปุ.) นกดอกบัว, นกกวัก, นกนางนวล, นกกระทุง, นกกะลิง. วิ. โปกฺขรสฺส สญฺญา ยสฺส โส โปกฺขร-สาตโก. แปลง ญ ตัวหน้าเป็น ต ตัวหนังเป็น ก และทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  24. โปฏฺฐปท โปฏฺฐปาท : (ปุ.) เดือน ๑๐, กันยายน. วิ. โปฏฺฐปทาย ปริปุณฺณนฺ-ทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส โปฏฺฐปโท โปฏฺฐปาโท วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  25. โปฏฺฐปทมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยวันเพ็ญรวมนักษัตรโปฏฐปทา, เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
  26. โปตฺถ : (ปุ. นปุ.) อันโบก, อันฉาบ, อันทา, การโบก, ฯลฯ, รูปปั้น. ปุสฺ เสฺนหเสจ-นปูรเณสุ, โถ. สสฺส โต.
  27. โปถุชฺชนิก : (วิ.) อันเป็นของมีอยู่แห่งปุถุชน, เป็นของปุถุชน. ปุถุชฺชน+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  28. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  29. โปราณ : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีในก่อน, อาจารย์ผู้เกิดแล้วในกาลก่อน, โบราณาจารย์. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  30. ผคฺคุนี : (อิต.) ผัคคุนี ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๑ วิ. ผลํ คณฺหาเปตีติ ผคฺคุนี. ผลปุพฺโพ, คหฺ อุปาทาเน, ยุ, อี, ลสฺส โค, หสฺส อุ. แปลง ยุ เป็น อณ เป็น ผคฺคุณี บ้าง. หรือลบที่สุดธาตุแปลง อ ที่ ค เป็น อุ ก็ได้.
  31. เผณี : (ปุ.) สัตว์มีพังพาน, งู. ผณ+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. แปลง อ ที่ ผ เป็น เอ.
  32. พก : (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน.
  33. พนฺธนาคาริก : (ปุ.) คนผู้อยู่ในเรือนเป็นที่จองจำ, นักโทษ. วิ. พนฺธนาคาเร วสตีติ พนฺธนาคาริโก. คนปกครองเรือนจำ วิ. พนฺธนาคารํ ปาเลตีติ พนฺธนาคาริโก. ณิกปัจ. ราคมทิตัท.
  34. พฺยตฺตย : (ปุ.) ความแปรปรวน, ความตรงกันข้าม. วิ อติปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย แมลง วฺ เป็น พ. ลบ อิ ที่ ติ บวก อย ซ้อน ตฺ.
  35. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  36. พฺยนฺตีกรณ : (นปุ.) การทำให้สิ้นสุด. พฺยนฺต+กรณ อี อาคม หรือแปลง อ ที่ ต เป็น อี.
  37. พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
  38. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  39. พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
  40. พริหิติณ พริหิส : (นปุ.) หญ้าคา, ข่า. วรหฺ ปาธานิยปริภาสนหีสาทาเนสุ, อิโส.
  41. พหุวารก : (ปุ.) มะกอก, มะทราง, มะคำไก่, มะปราง. วิ. ปิจฺฉิลตฺตา พหูนิ วารีนิ ยสฺมึ โส พหุวารโก. แปลง อิ ที่ วาริ เป็น อก สกัด.
  42. พาธิ : (ปุ.) การเบียดเบียน, ความเบียดเบียน, การกระทบ, การฆ่า, การทำลาย. หนฺ หึสายํ, ณิ แปลง หนฺ เป็น วธ ทีฆะ อ ที่ ว เป็น อา.
  43. พาลิสิก : (ปุ.) คนผู้จับปลาด้วยเบ็ด, พรานเบ็ด, พลิส+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  44. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  45. พุทฺธิก : (วิ.) ผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า วิ. พุทฺเธ ปสนฺโน พุทฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  46. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  47. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  48. ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
  49. ภทฺททารุ : (ปุ.) เทพทาโร, ไม้เทพทาโร. วิ. เทวานํ ตนุภูตตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ ทารุ เจติ ภทฺททารุ.
  50. ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-979

(0.0729 sec)