Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทะ , then , ทะ, ทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทะ, 979 found, display 851-900
  1. อจฺจรอจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจศัพย์หลัง แปลง อ ที่ จเป็น อุ.
  2. อจฺจร อจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจ ศัพย์ หลัง แปลง อ ที่ จ เป็น อุ.
  3. อจฺฉ : (วิ.) ใส, ผ่องใส, แจ่มใส, ไม่มีมลทิน.วิ.น ฉินฺทติทสฺสนนฺติอจฺโฉ.นปุพฺโพ, ฉิทิ ทฺวิธากรเณ, โณ, ทิโลโปจฺสํโยโค. ส. อจฺฉ.
  4. อชฺชว : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ซื่อตรง, ความเป็นแห่งคนซื่อตรง, ความเป็นคนซื่อตรง.วิ. อุชุโน ภาโว อชฺชวํ.ณปัจ.ภาวตัท. แปลง อุ เป็น อ แปลง อุ ที่ ชุเป็น อว แปลง ช เป็น ชฺช. ความซื่อตรง.ณ ปัจ. สกัต.
  5. อญฺชติ : ก. ๑. ฉิบหาย ๒. แจ้งชัด ๓. ทา, ไล้, หยอด ๔. ไป, รัก, ใคร่, รักใคร่ ๕. ดึงออก, เหยียดออก
  6. อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
  7. อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
  8. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  9. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  10. อธมณฺณ : (ปุ.) ลูกหนี้.วิ.อิเณอธโมอธมณฺ-โณ.เอา อิ ที่ อิณ เป็น อ ได้รูปเป็นอณ แปลง ณ เป็นณฺณ.แล้วเปลี่ยนบทหน้าไว้หลัง.ส.อธรฺมณ
  11. อธิจิตฺตสิกฺขา : (อิต.) ปฏิทาอัน..พึงศึกษา คือจิตยิ่ง, ข้อที่ควรศึกษาคือจิตยิ่ง, อธิกจิตตสิกขาชื่อหลักการศึกษาทางพุทธศาสนา หลักที่ ๒ใน ๓ หลัก.
  12. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  13. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  14. อนฺโตชาต : (ปุ.) ทาสเกิดในภายในแห่งเรือน, ทาสเกิดในเรือน, ทาสในเรือน.วิ.อนฺโตเคเหทาสิยากุจฺฉิสฺมึชาโตอนฺโตชาโต.
  15. อนฺนท : (ปุ.) บุคคลผู้ให้อาหาร.อนฺนปุพฺโพ, ทาทาเน, อ.
  16. อนฺวฑฺฒมาส อนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือน โดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์. วิ. อนุปุ- พฺเพน อฑฺฒมาสํ อทฺธมาสํ วา อนฺวฑฺฒมา สํ อนฺวทฺธมาสํ วา. ลบ ปุพฺพ แปลง อุ ที่ นุ เป็น อ.
  17. อนาคาริย : (ปุ.) คนไม่ครองเรือน, ฯลฯ.แปลงกเป็นยหรืออิย ปัจ.ชาตาทิตัท.
  18. อนุปฺปเทติ : ก. ดู อนุปฺปทาติ
  19. อนุปาทาย : กิต. ดู อนุปาทา
  20. อนุปาทิยาน : ค. ดู อนุปาทานิย
  21. อนุลิมฺปน : นป. การฉาบ, การทา, การลูบไล้, การโปะ
  22. อนุลิมฺเปติ : ก. ให้ฉาบ, ให้ทา, ให้ลูบไล้, ให้โปะ
  23. อนูปสิตฺต : ค. ไม่ถูกฉาบทา
  24. อพฺภญฺชติ : ก. ทา, ไล้, เจิม
  25. อพฺภญฺชน : (นปุ.) การฉาบ, การทา, การไล้, การทายา.อภิปุพฺโพ, อญฺชฺมกฺขเณ, ยุ.
  26. อภิเลปน : (นปุ.) การทา, การไล้, การลูบไล้, เครื่องลูบไล้, ของหอม.อภิปุพฺโพ, ลิปฺลิมฺปเน, ยุ.
  27. อมฺพุทอมฺพุธร : (ปุ.) เมฆ. วิ. อมฺพุทาทาตีติอมฺพุโท.อมฺพุปุพฺโพทา ทาเน, กฺวิ. อมฺพุธาเรตีติอมฺพุธโร.ส. อมฺพุทฺ
  28. อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  29. อรินฺทม : (วิ.) ผู้ข่มข้าศึกวิ.อรึทมตีติอรินฺท-โม.อริปุพฺโพ, ทมฺทมเน, นุอาคโม.แปลงนุเป็นนิคฺคหิตแล้วแปลงเป็นนฺ.
  30. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  31. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  32. อวตาร : (ปุ.) การลง, การหยั่งลง, การข้าม, การข้ามลง, ท่า, ท่าน้ำ, รู, ช่อง, โพรง, ละแวก.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, โณ.ส. อวตาร.
  33. อวเลปน : นป. การฉาบทา, การลูบไล้
  34. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
  35. อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
  36. อาชญฺญ : (วิ.) รู้พลัน, รู้รวดเร็ว.อาปุพฺโพ, ญาอวโพธเน, โณฺย.ลงนาปัจ.ประจำธาตุแปลงญา เป็น ชารัสสะลบอา ที่ นาลบณฺรวมเป็นนฺยแปลงนฺย เป็น ญแปลงญเป็นญฺญหรือแปลงนฺยเป็นญฺญก็ได้.ดูวิ.อาชานียด้วย.
  37. อาณตฺติก : (วิ.) เกี่ยวด้วยการบังคับ, ประกอบด้วยการบังคับ, ฯลฯ.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  38. อาตต : (นปุ.) อาตตะชื่อกลองที่หุ้มหนังด้านเดียวมีกลองกุมภถุนะและกลองคัททรีเป็นต้น, กลองยาว, กลองรำมะนา.วิอาตโนตีติอาตตํ.อาปุพฺโพ, ตนุวิตฺถาเร, อ. แปลงนเป็นต.
  39. อาทาน : (นปุ.) การถือ, การถือเอา, การฉวยเอาการคว้าเอา, การยึด, การยึดถือ, ความถือ, ฯลฯ.อาบทหน้าทาธาตุในความถือ ยึดถือยุปัจ.แปลว่าการขอก็มีอาทานํยาจนเมว.ส.อาทาน.
  40. อาทิ : (วิ.) ก่อน, แรก, ต้น, เป็นต้น, ปฐม, ถือเอา, อัน...ย่อมถือเอา.วิ. อาทียเตปฐมํคณฺหียเตติอาทิ.อาทียตีติวาอาทิ.อาปุพฺโพ, ทาอาทาเน, อิ.ส.อาทิ.
  41. อาทิกมฺม : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ. อาทิกมฺเมนนิยุตฺโตอาทิกมฺโม, ณปัจ.ราคาทิตัท.
  42. อาทิกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น, ผู้ประกอบในกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ.อาทิกมฺเมนอาทิกมฺเม วานิยุตฺโตอาทิกมฺมิโก.ณิกปัจ.ตรัต๎ยาทิตัท.
  43. อาเทยฺย : (วิ.) อัน...พึงเชื่อ, อัน...พึงเชื่อถือ.อาปุพฺโพ, ทาอาทาเน, โณฺย.แปลงณฺยกับอาเป็นเอยฺย.
  44. อาปายิก : (ปุ.) ผู้เกิดในอบาย, วิ.อปาเยชาโตอาปายิโก.ผู้ไปในอบายวิ. อปาเยคจฺฉตีติอาปายิโก.ณิกปัจ.ตรัต๎ยาทิตัท.
  45. อาภิธมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยพระอภิธรรม.วิ.อภิธมฺเมนนิยุตฺโตอาภิธมฺมิโก (ปิฏโกคมฺภึโร). ผู้เรียนพระอภิธรรมวิ. อภิธมฺมํอธิเต-ติอาภิธมฺมิโก.ผู้สวดพระอภิธรรมณิก ปัจตรัต๎ยาทิตัท.
  46. อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
  47. อารามิก : (วิ.) ผู้อยู่ในวัด, ผู้อาศัยวัดเป็นอยู่.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  48. อาริสอาริสฺส : (วิ.) นี้ของฤาษี. ณ ปัจ. ราคาทิตัทแปลงอิเป็นอาศัพท์หลังซ้อนสฺ.
  49. อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
  50. อาลิตฺต : กิต. ฉาบทาแล้ว, ลูบไล้แล้ว; สุมไฟแล้ว, ติดไฟแล้ว
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-979

(0.0733 sec)