Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียงสั่น, เสียง, สั่น , then สน, สยง, สยงสน, สั่น, เสียง, เสียงสั่น .

Royal Institute Thai-Thai Dict : เสียงสั่น, 1071 found, display 551-600
  1. เปรื่อง : [เปฺรื่อง] ก. เชี่ยวชาญ, ปรุโปร่ง, แตกฉาน, เช่น ปัญญาเปรื่อง สมองเปรื่อง. ว. เสียงดังอย่างเสียงถ้วยชามกระทบกันหรือตกแตก.
  2. เปล่ง : [เปฺล่ง] ก. ฉายออก, แผ่ออก, เช่น เปล่งรัศมี, ออกเสียง เช่น เปล่งเสียง. ว. แจ่มใส, สุกใส.
  3. เป่า : ก. พ่นลมออกมาทางปาก, อาการที่ลมพุ่งเข้ามาหรือออกไปเช่นนั้น เช่น ตรงหน้าต่างลมเป่าดี, ทําให้เครื่องดนตรีหรือสิ่งอื่นเกิดเสียง โดยใช้ลมปากเช่น เป่าขลุ่ย, ทําให้สิ่งที่อยู่ในลํากล้องเช่นกล้องเป่า เป็นต้น ออกจากลํากล้องโดยวิธีเป่า เช่น เป่ายานัตถุ์ เป่าลูกดอก.
  4. เป่าปาก : ก. เอานิ้วมือใส่ปากแล้วเป่าให้เกิดเสียง; หายใจทางปาก เพราะเหนื่อยมาก.
  5. เปาะ : ว. ไม่หยุดปาก (ใช้แก่กริยาชม); เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงเคาะไม้.
  6. เป๊าะ : ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงหักนิ้วหรือกิ่งไม้เล็ก ๆ หัก.
  7. เปิง ๆ : ว. ดังเต็มที่ เช่น เสียงร้องเปิง ๆ, เตลิดไป เช่น วิ่งเปิง ๆ.
  8. เปิดฉาก : ก. เริ่มต้นทํา เช่น เปิดฉากหาเสียง เปิดฉากตะลุมบอน, เริ่มต้นแสดง เช่น ละครเปิดฉาก.
  9. เปิ๊บ : ว. เสียงร้องเช่นนั้นอย่างเสียงอีเก้งร้อง.
  10. เปี๊ยว : ว. เสียงเป่าปากแสดงความพอใจเป็นต้น.
  11. แป๋ง : ว. เสียงดังเช่นนั้น.
  12. แป๊ด : ว. เสียงดังอย่างเสียงบีบแตร, แป๊น ก็ว่า.
  13. แป๊น : ว. เสียงดังอย่างเสียงบีบแตร, แป๊ด ก็ว่า.
  14. แปร่ง : [แปฺร่ง] ว. มีเสียงพูดผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่น นั้น ๆ, ไม่สนิท.
  15. แปร่งหู : ว. ผิดเพี้ยนไปจากที่เคยตกลงกันไว้, มีเสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไป จากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่.
  16. แปร้น : [แปฺร้น] ว. เสียงตะเบ็งเอ็ดอึงอย่างคนขึ้นเสียงทะเลาะกัน, แปร๋น หรือ แปร๋น ๆ ก็ว่า.
  17. แปร้นแปร๋ : ว. เสียงดังแหลมอย่างเสียงช้างร้องเมื่อโกรธหรือตกใจ, แปร๋ หรือ แปร๋แปร้น ก็ว่า.
  18. แปร๋, แปร๋แปร้น : ว. เสียงดังแหลมอย่างเสียงช้างร้องเมื่อโกรธหรือตกใจ, แปร้นแปร๋ ก็ว่า.
  19. แป๊ว : ว. เสียงอย่างเสียงแมวร้อง.
  20. แปะ : ก. เอาของแบน ๆ บาง ๆ ทาบเข้าไป. ว. เสียงดังอย่างเสียงตบมือ.
  21. โปก, โป๊ก : ว. เสียงดังอย่างเอาค้อนเคาะกระดาน.
  22. โป้ง : ว. อาการที่พูดโพล่งออกมาโดยไม่ระมัดระวังปาก หรือพูดเปิดเผย สิ่งที่ไม่สมควรออกมาโดยไม่คํานึงถึงความผิดพลาดเสียหาย; ใหญ่ เช่น หัวโป้ง; เสียงดังอย่างเสียงปืนเป็นต้น.
  23. โปง ๒ : (ถิ่น) น. เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้มักมีรูปคล้ายกระดิ่ง มีลูก กระทบแขวนอยู่ภายในหรือห้อยกระหนาบอยู่ภายนอก มักใช้ แขวนคอสัตว์เช่นวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงดัง, กระดึง ก็ว่า.
  24. โป้งเป้ง : ว. สูง ๆ ใหญ่ ๆ; เสียงดังเช่นนั้น.
  25. โปงลาง : (ถิ่น-อีสาน) น. เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นท่อนไม้กลม ผูกร้อยเรียงกันตามลําดับขนาดและลําดับเสียงเช่นเดียวกับระนาด แต่มีขนาดใหญ่กว่า.
  26. ผล็อง : [ผฺล็อง] ว. เสียงเช่นของตกลงในไห.
  27. ผลับ : [ผฺลับ] ว. เร็ว; เสียงอย่างเสียงสุนัขกินนํ้าข้าว.
  28. ผลัวะ : [ผฺลัวะ] ว. อาการที่ผลุนผลันเข้าไปหรือออกมาอย่างรวดเร็ว เช่น เปิดประตูผลัวะเข้าไป; เสียงดังอย่างเอาดินปาพุ่มไม้หรืออย่างเสียง นกเขาที่บินออกจากพุ่มไม้.
  29. ผลึ่ง : [ผฺลึ่ง] ก. บวมขึ้น, พองขึ้น. ว. เสียงดังอย่างเสียงของหนัก ๆ ตกลงที่พื้น, อาการที่ล้มหงายไปทันทีทันใด ในคําว่า ล้มผลึ่ง หงายผลึ่ง.
  30. ผลุ : [ผฺลุ] ว. เสียงดังอย่างเสียงของอ่อนน่วมตกลง เช่น มะละกอสุก หล่นลงมาดังผลุ.
  31. ผลุง : [ผฺลุง] ว. อาการที่ทิ้งหรือปาสิ่งของไปโดยเร็ว เช่น ทิ้งผลุง, อาการที่กระโดดไปโดยเร็วในคำว่า โดดผลุง, เสียงอย่างเสียง ของหนักตกนํ้า.
  32. ผ่อง ๒ : ก. ออกเสียงร้องว่า ''ผ่อง'' เมื่อเปิดไพ่ขึ้นมาเข้าตอง เป็นคําใช้ ในการเล่นไพ่ผ่องไทยหรือจีน.
  33. ผันอักษร : ก. เปลี่ยนเสียงพยัญชนะให้สูงตํ่าไปตามวรรณยุกต์.
  34. ผับ, ผับ ๆ : ว. เสียงดังเช่นนั้น (ใช้ในลักษณะรวดเร็วทันทีทันใด) เช่น เตะผับ วิ่งผับ ๆ.
  35. ผัวะ : ว. เสียงอย่างเสียงไม้หักหรือเสียงตบ.
  36. ผาง : ว. เสียงดังอย่างเสียงเอามือตบสิ่งของ.
  37. ผ่าง ๆ : ว. เสียงดังเช่นนั้น.
  38. ผิวปาก : ก. ห่อริมฝีปากให้แคบพอ แล้วเป่าลมออกให้เกิดเสียง ตามที่ต้องการ.
  39. ผึง : ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น เชือกขาดดังผึง; อาการที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทันทีทันใด เช่น ขาดผึง ดีดผึง; ใช้ประกอบคำ แห้ง ว่า แห้งผึง หมายความว่า แห้งสนิท เช่น ปลักควายแห้งผึง.
  40. เผง : ว. เสียงดังเช่นนั้น, โดยปริยายหมายความว่า แน่เทียว, ไม่ผิดพลาด, เช่น ตรงเผง ถูกเผง, เพะ ก็ว่า.
  41. เผละ : [เผฺละ] ว. เสียงอย่างเสียงสาดโคลน; โดยปริยายหมายความว่า ไม่เป็นที่เป็นทาง เช่น โยนเผละ ทิ้งเผละ; ลักษณะเนื้อของคนอ้วน เที่กระเพื่อม เรียกว่า นื้อเผละ; ลักษณะที่ของข้น ๆ ที่ไหลล้น เลอะเทอะ ในคำว่า ไหลเผละ.
  42. เผลาะ : [เผฺลาะ] ว. เสียงหลุดจากช่องกระบอก.
  43. เผาะ ๑, เผาะ ๆ : ว. เปราะ; เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงหักไม้เปราะ เช่น ข้อเท้าข้อมือ ลั่นเผาะ น้ำตาร่วงเผาะ ๆ.
  44. แผ่นดินไหว : น. การสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึกได้ ณ บริเวณใด บริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือก โลกที่รองรับผิวโลกอยู่ บางครั้งเกิดจากภูเขาไฟระเบิด.
  45. แผละ ๑ : [แผฺละ] ว. เสียงดังเช่นนั้น; แสดงอาการอ่อนกําลัง เช่น ล้มแผละ.
  46. แผ่ว, แผ่ว ๆ : ว. เบา ๆ เช่น เสียงแผ่ว คือเสียงเบาเกือบไม่ได้ยิน หายใจแผ่ว คือ หายใจเบาจนเกือบไม่รู้สึกว่าหายใจ วาดแผ่ว ๆ คือวาดเบา ๆ พอ ให้เห็น ปัดแผ่ว ๆ คือปัดเบา ๆ พอให้หมดฝุ่นละออง.
  47. โผง : ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น ไม้หักโผง ปลาฮุบโผง; โดยปริยายหมายความ ว่า ไม่ยับยั้งอ้อมค้อม (ใช้ในลักษณะอาการที่นึกจะพูดก็พูดออกมา ตรง ๆ ไม่เกรงใจ), โผงผาง ก็ว่า.
  48. โผละ : [โผฺละ] ว. เสียงดังอย่างเสียงทุบมะพร้าวให้แตก.
  49. โผะ : ว. เสียงที่หมอและควาญช้างร้องเมื่อทําพิธีบํารูงาช้าง เป็นการ เยาะเย้ยเมื่อรําท่าต่าง ๆ แล้ว.
  50. ฝักถั่ว : (ปาก) น. การแสดงความอ่อนน้อม อ้อนวอน หรือขอร้องโดย วิธียกมือไหว้ เช่น มืออ่อนเป็นฝักถั่ว, การพลอยยกมือแสดงความ เห็นชอบตามเขาไป มักใช้พูดตําหนิ นักการเมืองในเวลาลงคะแนนเสียง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1071

(0.1243 sec)