Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Budhism Thai-Thai Dict : , 48 found, display 1-48
  1. ยากัสสป : นักบวชชฎิลแห่งกัสสปโตร ตั้งอาศรมอยู่ที่ตำบลยาสีสะเป็นน้องชายนเล็กของอุรุเวลากัสสปะ ออกบวชตามที่ชาย พร้อมด้วยชฎิล ๒๐๐ ที่เป็นบริวาร ได้ฟังพระธรรมเทศนาอาทิตตปริยายสูตร บรรลุพระอรหัตและเป็นมหาสาวกอง์หนึ่งในอสีติมหาสาวก
  2. ยาสีสะ : ชื่อตำบล ซึ่งเป็นเนินเขาแห่งหนึ่งในจังหวัดยา พระพุทธเจ้าเทศนาอาทิตตปริยายสูตร โปรดภิกษุสงฆ์ปุราณชฎิลทั้งหมดให้สำเร็จพระอรหัตที่ตำบลนี้
  3. นามรูปปัจจัยปริหญาณ : ญาณกำหนดจับปัจจัยแห่งนามรูป, ญาณหยั่งรู้ที่กำหนดจับได้ซึ่งปัจจัยแห่งนามและรูป โดยอาการที่เป็นไปตามหลักปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น (ข้อ ๒ ในญาณ ๑๖) เรียกกันสั้นๆ ว่า ปัจจัยปริหญาณ)
  4. ปัจจัยปริหญาณ : ดู นามรุปปัจจัยปริหญาณ
  5. กายตาสติ : สติที่เป็นไปในกาย, สติอันพิจารณากายให้เห็นตามสภาพที่มีส่วนประกอบ ซึ่งล้วนเป็นของไม่สะอาด ไม่งาม น่ารังเกียจ ทำให้เกิดวามรู้เท่าทัน ไม่หลงใหลมัวเมา
  6. จีวรปฏิาหก : ผู้รับจีวร ือ ภิกษุที่สงฆ์สมมติให้เป็นเจ้าหน้าที่รับจีวร เป็นตำแหน่งหนึ่งในบรรดาเจ้าอธิการแห่งจีวร
  7. ตทังปหาน : “การละด้วยอง์นั้น”, การละกิเลสด้วยอง์ธรรมที่จำเพาะกันนั้น ือละกิเลสด้วยอง์ธรรมจำเพาะที่เป็นู่ปรับกัน แปลง่ายๆ ว่า การละกิเลสด้วยธรรมที่เป็นู่ปรับ เช่น ละโกรธด้วยเมตตา (แปลกันมาว่า การละกิเลสได้ชั่วราว)
  8. ตทังวิมุตติ : พ้นด้วยอง์นั้นๆ หมายวามว่า พ้นจากกิเลสด้วยอาศัยธรรมตรงกันข้ามที่เป็นู่ปรักกัน เช่น เกิดเมตตา หายโกรธ เกิดสังเวช หายกำหนัด เป็นต้น เป็นการหลุดพ้นชั่วราว และเป็นโลกิยวิมุตติ ดู วิมุตติ
  9. มัญาณ : ญาณในอริยมรร, ปัญญาสูงสุดที่กำจัดกิเลสเป็นเหตุให้บรรลุวามเป็นพระอริยบุลชั้นหนึ่งๆ, ดู ญาณ
  10. มัามัญาณทัสสนวิสุทธิ : วามหมดจดแห่งญาณเป็นเรื่องเห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง (ข้อ ๕ ในวิสุทธิ ๗)
  11. อสังสักถา : ถ้อยำที่ชักนำไม่ให้ลุกลีด้วยหมู่ (ข้อ ๔ ในกถาวัตถุ ๑๐)
  12. กัณฐชะ : อักษรเกิดในือ อ อา ก ข ฆ ง
  13. อกุศลกรรมบถ : ทางแห่งกรรมชั่ว, ทางแห่งกรรมที่เป็นอกุศล, กรรมชั่วอันเป็นทางนำไปสู่ทุติ มี ๑๐ อย่าง ือ ก) กรรม ๓ ได้แก่ ๑) ปาณาติบาต การทำลายชีวิต ๒) อทินนาทาน ถือเอาของที่เขามิได้ให้ ๓) กาเมสุมิจฉาจาร ประพฤติผิดในกาม ข) วจีกรรม ๔ ได้แก่ ๔) มุสาวาท พูดเท็จ ๕) ปิสุณาวาจา พูดส่อเสียด ๖) ผรุสวาจา พูดำหยาบ ๗) สัมผัปปลาปะ พูดเพ้อเจ้อ ) มโนกรรม ๓ ได้แก่ ๘) อภิชฌา ละโมบอยจ้องอยากได้ของเขา ๙) พยาบาท ิดร้ายเขา ๑๐) มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากลองธรรม เทียบ กุศลกรรมบถ
  14. อารัญญกวัตร : ข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุผู้อยู่ป่า, ธรรมเนียมที่ภิกษุผู้อยู่ป่าพึงถือปฏิบัติ ตามพุทธบัญญัติที่มาในวัตตขันธกะ จัดเป็นหัวข้อได้ดังนี้ ก) ๑) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงลุกขึ้นแต่เช้าตรู่ เอาถุงบาตรสวมบาตรแล้วล้องบ่าไว้ พาดจีวรบนไหล่ สวมรองเท้า เก็บงำเรื่องไม้เรื่องดิน ปิดประตูหน้าต่าง แล้วลงจากเสนาสนะ (ที่พักอาศัย) ไป ๒) ทราบว่า “บัดนี้จักเข้าหมู่บ้าน” พึงถอดรองเท้า เาะต่ำๆ แล้วใส่ถุงล้องบ่าไว้ นุ่งให้เป็นปริมณฑล าดประดเอว ห่มสังฆาฏิซ้อนเป็น ๒ ชั้น กลัดลูกดุม ชำระบาตรแล้วถือเข้าหมู่บ้านโดยเรียบร้อยไม่รีบร้อน ไปในละแวกบ้านพึงปกปิกกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง เมื่อจะเจ้านิเวศน์ พึงกำหนดว่า เรากจักเข้าทางนี้ จักออกทางนี้ ไม่พึงรีบร้อนเข้าไป ไม่พึงรีบร้อนออกมา พึงยืนไม่ไกลเกิดไป ไม่ใกล้เกินไป ไม่นานเกินไป ไม่กลับออกเร็วเกินไป เมื่อยืนอยู่ พึงกำหนดว่า เขาประสง์จะถวายภิกษาหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษา พึงแหวกสังฆาฏิด้วยมือซ้าย น้อมบาตรเข้าไปด้วยมือขวา ใช้มือทั้ง ๒ ประองบาตรรับภิกษา ไม่พึงมองดูหน้าสตรีผู้ถวาย พึงกำหนดว่า เขาประสง์จะถวายแกงหรือไม่ ฯลฯ เมื่อเขาถวายภิกษาแล้ว พึงลุมบาตรด้วยสังฆาฏิแล้วกลับโดยเรียบร้อย ไม่รีบร้อน เดินไปในละแวกบ้าน พึงปกปิดกายด้วยดี สำรวมด้วยดี ไม่เดินกระโหย่ง ๓) ออกจากบ้านแล้ว (หลังจากฉันและล้างบาตรแล้ว) เอาบาตรใส่ถุง ล้องบ่า พับจีวร วางบนศีรษะ สวมรองเท้าเดินไป ข) ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงจัดเตรียมน้ำดื่มไว้ พึงจัดเตรียมน้ำใช้ไว้ พึงติดไฟเตรียมไว้ พึงจัดเตรียมไม้สีไฟไว้ พึงจัดเตรียมไม้เท้าไว้ ) พึงเรียนทางนักษัตรไว้ (ดูดาวเป็น) ทั้งหมดหรือบางส่วน พึงเป็นผู้ฉลาดในทิศ
  15. อุปาทายรูป : รูปอาศัย, รูปที่เกิดสืบเนื่องจากมหาภูตรูป, อาการของมหาภูตรูป ตามหลักฝ่ายอภิธรรมว่า มี ๒๔ ือ ก) ประสาท หรือ ปสาทรูป ๕ ได้แก่ จักขุ ตา, โสต หู, ฆาน จมูก, ชิวหา ลิ้น, กาย, มโน ใจ, ข) โจรรูป หรือ วิสัยรูป (รูปที่เป็นอารมณ์) ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (โผฏฐัพพะ ไม่นับเข้าจำนวน เพราะตรงกับปฐวี เตโช วาโย ซึ่งเป็นมหาภูตรูป) ) ภาวรูป ๒ ได้แก่ อิตถีภาวะ วามเป็นหญิง และปุริสภาวะ วามเป็นชาย ง) หทัยรูป ๑ ือ หทัยวัตถุ หัวใจ จ) ชีวิตรูป ๑ ือ ชีวิตินทรีย์ ภาวะที่รักษารูปให้เป็นอยู่ ฉ) อาหารรูป ๑ ือกวฬิงการาหาร อาหารที่กินเกิดเป็นโอชา ช) ปริจเฉทรูป ๑ ือ อากาศธาตุ ช่องว่าง ญ) วิญญัติรูป ๒ ือ กายวิญญัติ ไหวกายให้รู้วาม วจีวิญญัติ ไหววาจาให้รู้วาม ือพูดได้ ฎ) วิการรูป ๕ อาการดัดแปลงต่างๆ ได้แก่ ลหุตา วามเบา, มุทุตา วามอ่อน, กัมมัญญตา วามวรแก่งาน, (อีก ๒ ือ วิญญัติรูป ๒ นั่นเอง ไม่นับอีก) ฏ) ลักขณรูป ๔ ได้แก่ อุปจยะ วามเติบขึ้นได้, สันตติ สืบต่อได้, ชรตา ทรุดโทรมได้, อนิจจตา วามสลายไม่ยั่งยืน (นับโจรรูปเพียง ๔ วิการรูป เพียง ๓ จึงได้ ๒๔); ดู มหาภูต ด้วย
  16. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ ือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (วามเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (วามลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (วามเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (วามนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (วามวรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาุญญตา (วามล่องแล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (วามซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ ือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ .อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกืออัปปมัญญา) ๒ ือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ ือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  17. กถาวัตถุ : ถ้อยำที่วรพูด, เรื่องที่วรนำมาสนทนากันในหมู่ภิกษุ มี ๑๐ อย่างือ ๑.อัปปิจฉกถา ถ้อยำที่ชักนำให้มีวามปรารถนาน้อย ๒.สันตุฏฐิกถา ถ้อยำที่ชักนำให้มีวามสันโดษ ๓.ปวิเวกกถา ถ้อยำที่ชักนำให้มีวามสงัดกายสงัดใจ ๔.อสังสักถา ถ้อยำที่ชักนำให้ไม่ลุกลีด้วยหมู่ ๕.วิริยารัมภกถา ถ้อยำที่ชักนำให้ปรารภวามเพียร ๖.สีลกถา ถ้อยำที่ชักนำให้ตั้งอยู่ในศีล ๗.สมาธิกถา ถ้อยำที่ชักนำให้ทำจิตมั่น ๘.ปัญญากถา ถ้อยำที่ชักนำให้เกิดปัญญา ๙.วิมุตติกถา ถ้อยำที่ชักนำให้ทำใจให้พ้นจากกิเลสและวามทุกข์ ๑๐.วิมุตติญาณทัสสนกถา ถ้อยำที่ชักนำให้เกิดวามรู้วามเห็นในภาวะที่หลุดพ้นจากกิเลสและวามทุกข์ - 1. "Points of controversy"; name of the fifth book of the Abidhamma Pitaka. 2.a subject of discussion.
  18. กัสสปะ : 1.พระนามพระพุทธเจ้าพระอง์หนึ่งในอดีต ดู พระพุทธเจ้า๕2.ชื่อของพระมหากัสสปเถระเมื่อเรียกตามโตร ท่านมีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า ปิปผลิ หรือ ปิปผลิมาณพ 3.หมายถึงกัสสป ๓ พี่น้อง ยากัสสปะ เป็นนักบวชประเภทชฎิล ถือลัทธิบูชาไฟ เป็นที่เารพนับถือของชาวราชฤห์ ภายหลังได้เป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้ง ๓ พี่น้องและบริวารหนึ่งพัน ด้วยได้ฟังเทศนาอาทิตตปริยายสูตร จากพระพุทธเจ้า
  19. ยา : จังหวัดที่พระพุทธเจ้าเยเสด็จเมื่อรั้งโปรดนักบวชชฎิล และได้ทรงแสดงพระธรรมเทศนาอาทิตตปริยายสูตรที่ตำบลยาสีสะในจังหวัดนี้ ปัจจุบันตัวเมืองยาอยู่ห่างจากพุทธยาสถานที่ตรัสรู้พระพุทธเจ้าประมาณ ๗ ไมล์
  20. ชฎิลกัสสปะ : กัสสปะ ๓ พี่น้อง ือ อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ ยากัสสปะ ผู้เป็นนักบวชประเภทชฎิล (ฤาษีกัสสปะ ๓ พี่น้อง)
  21. ญาณ ๑๖ : ญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนาโดยลำดับตั้งแต่ต้นจนถึงจุดหมาย ือมรรผลนิพพาน ๑๖ อย่างือ ๑.นามรูปปริจเฉทญาณ ญาณกำหนดแยกนามรูป ๒.(นามรูป) ปัจจัยปริหญาณ ญาณกำหนดจับปัจจัยแห่งนามรูป ๓.สัมมสนญาณ ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์ ๔.- ๑๒.(ตรงกับวิปัสสนาญาณ ๙) ๑๓.โตรภูญาณ ญาณรอบโตรือหัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน ๑๔.มัญาณ ญาณในอริยมรร ๑๕.พลญาณ ญาณในอริยผล ๑๖.ปัจจเวกขณญาณ ญาณที่พิจารณาทบทวน; ญาณ ๑๖ นี้เรียกเลียนำบาลีว่า โสฬสญาณ หรือ เรียกกึ่งไทยว่า ญาณโสฬส; ดู วิปัสสนาญาณ
  22. ทีฆขนะ : ชื่อปริพาชก ผู้หนึ่ง ตระกูล อัิเวสสนะ ขณะที่พระพุทธเจ้าเทศนาเวทนาปริหสูตร โปรดปริพาชกผู้นี้ พระสารีบุตรนั่งถวายงานพัดอยู่ ณ เบื้องพระปฤษฎาง์ของพระพุทธอง์ ได้ฟังเทศนานั้น ได้สำเร็จพระอรหัต ส่วนทีฆนขะ เพียงแต่ได้ดวงตาเห็นธรรมแสดงตนเป็นอุบาสกในพระพุทธศาสนา
  23. นทีกัสสป : นักบวชชฎิลแห่งกัสสปโตร น้องชายของอุรุเวลกัสสปะ พี่ชายของยากัสสปะ ออกบวชตามพี่ชาย พร้อมด้วยชฎิลบริวาร ๓๐๐ น สำเร็จพระอรหัตด้วยฟังอาทิตตปริยายสูตร เป็นมหาสาวกอง์หนึ่งในอสีติมหาสาวก
  24. ปุราณชฎิล : พระเถระสามพี่น้องพร้อมด้วยบริวาร ือ อุรุเวลกัสสป นทีกัสสป ยากัสสป ซึ่งเยเป็นชฎิลมาก่อน
  25. โพธิ : ต้นโพธิ์, ต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าได้ประทับ ณ ภายใต้ร่มเงาในราวตรัสรู้, ต้นไม้เป็นที่ตรัสรู้และต้นไม้อื่นที่เป็นชนิดเดียวกันนั้น สำหรับพระพุทธเจ้าอง์ปัจจุบัน ได้แก่ พันธุ์ไม้อัสสัตถะ (ต้นโพ) ต้นที่อยู่ ณ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลยา; ต้นโพธิ์ ตรัสรู้ที่เป็นหน่อของต้นเดิมที่ยา ได้ปลูกเป็นต้นแรกในสมัยพุทธกาล (ปลูกจากเมล็ด) ที่ประตูวัดพระเชตวัน โดยพระอานนท์เป็นผู้ดำเนินการตามวามปรารภของอนาถบิณฑิกเศรษฐี และเรียกชื่อว่า อานันทโพธิ; หลังพุทธกาล ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระนาง สังฆมิตตาเถรี ได้นำกิ่งด้านขวาของต้นมหาโพธิ์ที่ยานั้นไปมอบแด่พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ทรงปลูกไว้ ณ เมืองอนุราธปุระ ในลังกาทวีป ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นต้นไม้เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ยังงมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน; ในประเทศไทย สมัยราชวงศ์จักรี พระสมณทูตไทยในสมัย ร.๒ ได้นำหน่อพระศรีมหาโพธิ์ที่เมืองอนุราธปุระมา ๖ ต้น ใน พ.ศ. ๒๓๕๗ โปรดให้ปลูกไว้ที่เมืองนรศรีธรรมราช ๒ ต้น นอกนั้นปลูกที่วัดมหาธาตุ วัดสุทัศน์ วัดสระเกศและที่เมืองกลันตัน แห่งละ ๑ ต้น; ต่อมา ในสมัย ร.๕ ประเทศไทยได้พันธุ์ต้นมหาโพธิจากยาโดยตรงรั้งแรก ได้ปลูกไว้ ณ วัดเบญจมบพิตรและวัดอัษฎางนิมิตร
  26. โพธิญาณ : ญาณือวามตรัสรู้, ญาณือปัญญาตรัสรู้, มรรญาณทั้ง ๔ มีโสตาปัตติมัญาณ เป็นต้น
  27. โพธิพฤกษ์ : ต้นโพธิ์, ต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าได้ประทับ ณ ภายใต้ร่มเงาในราวตรัสรู้, ต้นไม้เป็นที่ตรัสรู้และต้นไม้อื่นที่เป็นชนิดเดียวกันนั้น สำหรับพระพุทธเจ้าอง์ปัจจุบัน ได้แก่ พันธุ์ไม้อัสสัตถะ (ต้นโพ) ต้นที่อยู่ ณ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลยา; ต้นโพธิ์ ตรัสรู้ที่เป็นหน่อของต้นเดิมที่ยา ได้ปลูกเป็นต้นแรกในสมัยพุทธกาล (ปลูกจากเมล็ด) ที่ประตูวัดพระเชตวัน โดยพระอานนท์เป็นผู้ดำเนินการตามวามปรารภของอนาถบิณฑิกเศรษฐี และเรียกชื่อว่า อานันทโพธิ; หลังพุทธกาล ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระนาง สังฆมิตตาเถรี ได้นำกิ่งด้านขวาของต้นมหาโพธิ์ที่ยานั้นไปมอบแด่พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ทรงปลูกไว้ ณ เมืองอนุราธปุระ ในลังกาทวีป ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นต้นไม้เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ยังงมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน; ในประเทศไทย สมัยราชวงศ์จักรี พระสมณทูตไทยในสมัย ร.๒ ได้นำหน่อพระศรีมหาโพธิ์ที่เมืองอนุราธปุระมา ๖ ต้น ใน พ.ศ. ๒๓๕๗ โปรดให้ปลูกไว้ที่เมืองนรศรีธรรมราช ๒ ต้น นอกนั้นปลูกที่วัดมหาธาตุ วัดสุทัศน์ วัดสระเกศและที่เมืองกลันตัน แห่งละ ๑ ต้น; ต่อมา ในสมัย ร.๕ ประเทศไทยได้พันธุ์ต้นมหาโพธิจากยาโดยตรงรั้งแรก ได้ปลูกไว้ ณ วัดเบญจมบพิตรและวัดอัษฎางนิมิตร
  28. ยุ : ู่, ทั้ง ๒
  29. ราจริต : พื้นนิสัยที่หนักในราะ เช่น รักสวย รักงาม แก้ด้วยเจริญกายตาสติ หรืออสุภกัมมัฏฐาน (ข้อ ๑ ในจริต ๖)
  30. โลกิยวิมุตติ : วิมุตติที่เป็นโลกีย์ ือวามพ้นอย่างโลกๆ ไม่เด็ดขาด ไม่สิ้นเชิง กิเลสและวามทุกข์ยังกลับรอบงำได้อีก ได้แก่วิมุตติ ๒ อย่างแรกือ ตทังวิมุตติ และ วิกขัมภนวิมุตติ ดู วิมุตติ, โลกุตตรวิมุตติ
  31. วิกขัมภนวิมุตติ : พ้นด้วยข่มหรือสะกดไว้ ได้แก่ วามพ้นจากกิเลสและอกุศลธรรมได้ด้วยกำลังฌาน อาจสะกดไว้ได้นานกว่าตทังวิมุตติ แต่เมื่อฌานเสื่อมแล้ว กิเลสอาจเกิดขึ้นอีก จัดเป็นโลกิยวิมุตติ (ข้อ ๒ ในวิมุตติ ๕; ในบาลีเป็นข้อ ๑ ถึงชั้นอรรถกถา จึงกลายมาเป็นข้อ ๒)
  32. วิมุตติ : วามหลุดพ้น, วามพ้นจากกิเลส มี ๕ อย่าง ือ ๑.ตทังวิมุตติ พ้นด้วยธรรมู่ปรับหรือพ้นชั่วราว ๒.วิกขัมภนวิมุตติ พ้นด้วยข่มหรือสะกดได้ ๓.สมุจเฉทวิมุตติ พ้นด้วยตัดขาด ๔.ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ พ้นด้วยสงบ ๕.นิสฺสรณวิมุตติ พ้นด้วยออกไป; ๒ อย่างแรก เป็น โลกิยวิมุตติ ๓ อย่างหลังเป็น โลกุตตรวิมุตติ
  33. วิสาขา : ชื่อมหาอุบาสิกาสำัญในรั้งพุทธกาล เป็นธิดาของธนัญชัยเศรษฐี และนางสุมนา เกิดที่เมืองภัททิยะในแว้นอังะ ได้บรรลุโสดาปัตติผล ตั้งแต่อายุ ๗ ขวบ ต่อมาได้ย้ายตามบิดามาอยู่ที่เมืองสาเกตในแว้นโกศลแล้วได้สมรสกับนายปุณณวัฒน์บุตรชายมิารเศรษฐีแห่งเมืองสาวัตถี และย้ายไปอยู่ในตระกูลฝ่ายสามี นางสามารถกลับใจมิารเศรษฐี บิดาของสามี ซึ่งนับถือรนถ์ ให้หันมานับถือพระพุทธศาสนา มิารเศรษฐีนับถือนางมาก และเรียกนางวิสาขาเป็นแม่ นางวิสาขาจึงได้ชื่อใหม่อีกอย่างหนึ่งว่า มิารมารดา (มารดาของมิารเศรษฐี) นางวิสาขาได้อุปถัมภ์บำรุงพระภิกษุสงฆ์อย่างมากมาย และได้ให้ขายเรื่องประดับประจำตัวตั้งแต่แต่งงาน เรียกชื่อว่า มหาลดาปสาธน์ ซึ่งมี่าสูงยิ่ง นำเงินมาสร้างวัดถวายแด่พระพุทธเจ้าและภิกษุสงฆ์ือ มิารมาตุปราสาท วัดบุพพาราม ณ พระนรสาวัตถี นางวิสาขามีบุตรหลานมากมายล้วนมีสุขภาพดีแทบทั้งนั้น แม้นางจะมีอายุยืนถึง ๑๒๐ ปี ก็ดูไม่แก่ และเป็นบุลที่ได้รับวามนับถืออย่างกว้างขวางในสังม ได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็นเอตทัะ ในบรรดาทายิกาทั้งปวง
  34. วิสุทธิ : วามบริสุทธิ์, วามหมดจด, การชำระสัตว์ให้บริสุทธิ์ด้วยการบำเพ็ญไตรสิกขาให้บริบูรณ์เป็นขั้นๆ ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดหมายือพระนิพพาน มี ๗ ขั้น ือ ๑.สีลวิสุทธิ วามหมดจดแห่งศีล ๒.จิตตวิสุทธิ วามหมดจดแห่งจิตต์ ๓.ทิฏฐิวิสุทธิ วามหมดจดแห่งทิฏฐิ ๔.กังขาวิตรณวิสุทธิ วามหมดจดแห่งญาณเป็นเรื่องข้ามพ้นวามสงสัย ๕.มัามัญาณทัสสนวิสุทธิ วามหมดจดแห่งญาณเป็นเรื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง ๖.ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ วามหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน ๗.ญาณทัสสนวิสุทธิ วามหมดจดแห่งญาณทัสสนะ กล่าวือ มรรญาณ
  35. วิสุทธิมรร : ปกรณ์พิเศษอธิบายศีล สมาธิ ปัญญา ตามแนววิสุทธิ ๗ พระพุทธโฆษาจารย์ พระอรรถกถาจารย์ชาวอินเดียเป็นผู้แต่งที่มหาวิหารในเกาะลังกา; พระพุทธโฆสาจารย์ผู้นี้เป็นบุตรพราหมณ์ เกิดที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้พุทธยา อันเป็นสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ในแว้นมธ เมื่อประมาณ พ.ศ.๙๕๖ เรียนจบไตรเพทมีวามเชี่ยวชาญมาก ต่อมาพบกับพระเรวตเถระ ได้โต้ตอบปัญหากัน สู้พระเรวตเถระไม่ได้ จึงขอบวชเพื่อเรียนพุทธวจนะ มีวามสามารถมาก ได้รจนาัมภีร์ญาโณทัย เป็นต้น พระเรวตเถระจึงแนะนำให้ไปเกาะลังกา เพื่อแปลอรรถกถาสิงหฬ กลับเป็นภาษามธ ท่านเดินทางไปที่มหาวิหาร เกาะลังกา เมื่อขออนุญาตแปลัมภีร์ ถูกพระเถระแห่งมหาวิหารให้าถามา ๒ บท เพื่อแต่งทดสอบวามรู้ พระพุทธโฆส จึงแต่งำอธิบายาถาทั้ง ๒ นั้นขึ้นเป็นัมภีร์วิสุทธิมรร จากนั้นก็ได้รับอนุญาตให้ทำงาน แปลอรรถกถาได้ตามประสง์ เมื่อทำงานเสร็จสิ้นแล้ว ท่านก็เดินทางกลับสู่ชมพูทวีป พระพุทธโฆสาจารย์ เป็นพระอรรถกถาจารย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด มีผลงานมากที่สุด
  36. สมาธิขันธ์ : หมวดธรรมจำพวกสมาธิ เช่น ฉันทะ วิริยะ จิตตะ ชาริยานุโย กายตาสติ เป็นต้น
  37. สังเวชนียสถาน : สถานเป็นที่ตั้งแห่งวามสังเวช, ที่ที่ให้เกิดวามสังเวช มี ๔ ือ ๑.ที่พระพุทธเจ้าประสูติ ือ อุทยาน ลุมพินี ปัจจุบันเรียกลุมพินีหรือรุมมินเด (Lumbini หรือ Rummindei) ๒..ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ือ วงโพธิ์ ที่ตำบล พุทธยา (Buddha Gaya หรือ Bodh-Gaya) ๓.ที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนา ือป่าอิสิปตนมฤทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบัน เรียก สารนาถ ๔.ที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ือที่สาลวโนทยาน เมือง กุสินารา หรือกุสินร บัดนี้เรียกกาเซีย (kasia หรือ kusinagara) ดู สังเวช ด้วย
  38. สารีบุตร : พระอัรสาวกเบื้องขวาของพระพุทธเจ้า เกิดที่หมู่บ้านนาลกะ (บางแห่งเรียกนาลันทะ) ไม่ไกลจากเมืองราชฤห์ เป็นบุตรแห่งตระกูลหัวหน้าหมู่บ้านนั้น บิดาชื่อวังันตพราหมณ์ มารดาชื่อ สารี จึงได้นามว่าสารีบุตร แต่เมื่อยังเยาว์เรียกว่า อุปติสสะ มีเพื่อนสนิทชื่อ โกลิตะ ซึ่งต่อมาือ พระมหาโมัลลานะ มีน้องชาย ๓ นชื่อ จุนทะ อุปเสนะ และเรวตะ น้องหญิง ๓ น ชื่อจาลา อุปจาลา และสีสุปจาลา ซึ่งต่อมาได้บวชในพระธรรมวินัยทั้งหมด เมื่ออุปติสสะและโกลิตะจะบวชนั้น ทั้ง ๒ นไปเที่ยวดูมหรสพที่ยอดเขาด้วยกัน ราวหนึ่งไปดูแล้วเกิดวามสลดใจ ิดออกแสวงหาโมกขธรรม และต่อมาได้บวชอยู่ในสำนักของสัญชัยปริพาชกแต่ก็ไม่บรรลุจุดมุ่งหมาย จนวันหนึ่งอุปติสสปริพาชก พบพระอัสสชิเถระขณะท่านบิณฑบาต เกิดวามเลื่อมใสติดตามไปสนทนาขอถามหลักำสอนได้ฟังวามย่อเพียงาถาเดียวก็ได้ดวงตาเห็นธรรม กลับไปบอกข่าวแก่โกลิตะแล้วพากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้า มีปริพาชกที่เป็นศิษย์ตามไปด้วยถึง ๒๕๐ น ได้รับเอหิภิกขุอุปสมบททั้งหมดที่เวฬุวัน เมื่อบวชแล้วได้ ๑๕ วัน พระสารีบุตรได้ฟังพระธรรมเทศนาเวทนาปริหสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ทีฆนขปริพาชก ณ ถ้ำสุกรขาตา เขาิชฌกูฏ ก็ได้บรรลุพระอรหัต ได้รับยกย่องเป็น เอตทัะ ในทางมีปัญญามาก และเป็น พระอัรสาวกฝ่ายขวา ท่านได้เป็นกำลังสำัญของพระพุทธเจ้าในการประกาศพระศาสนา และได้รับยกย่องเป็น พระธรรมเสนาบดี ำสอนของท่านปรากฏอยู่ในพระไตรปิฏกเป็นอันมาก เช่น สังีติสูตร และทสุตตรสูตร ที่เป็นแบบอย่างแห่งการสังายนา เป็นต้น ท่านปรินิพพานก่อนพระพุทธเจ้าไม่กี่เดือนเมื่อจวนจะปรินิพพาน ท่านเดินทางไปโปรดมารดาของท่านซึ่งยังเป็นมิจฉาทิฐิให้มารดาได้เป็นพระโสดาบันแล้ว ปรินิพพานที่บ้านเกิด ด้วยปักขันทิกาพาธ หลังจากปลงศพแล้วพระจุนทะน้องชายของท่านนำอัฐิธาตุไปถวายพระบรมศาสดา พระอง์ตรัสว่าให้ก่อสถูปบรรจุอัฐิธาตุของท่านไว้ ณ พระเชตวัน เมืองสาวัตถี (อรรถกถาว่าท่านปรินิพพานในวันเพ็ญเดือน ๑๒ จึงเท่ากับ ๖ เดือนก่อนพุทธปรินิพพาน)
  39. สิถิล : พยัญชนะออกเสียงเพลา ได้แก่พยัญชนะที่ ๑ ที่ ๓ ในวรรทั้ง ๕ ือ ก , จ ช, ฏ ฑ, ต ท, ป พ
  40. อนุปุพพิกถา : เทศนาที่แสดงไปโดยลำดับ เพื่อฟอกอัธยาศัยของสัตว์ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จากง่ายไปหายากเพื่อเตรียมจิตของผู้ฟังให้พร้อมที่จะรับฟังอริยสัจ มี ๕ ือ ๑) ทานกถา พรรณนาทาน ๒) สีลกถา พรรณนาศีล ๓) สักถา พรรณนาสวรรือ วามสุขที่พรั่งพร้อมด้วยกาม ๔) กามาทีนวกถา พรรณนาโทษของกาม ๕) เนกขัมมานิสังสกถา พรรณาอานิสงส์แห่งการออกจากกาม
  41. อนุสติ : วามระลึกถึง, อารมณ์ที่วรระลึกถึงเนืองๆ มี ๑๐ อย่าง ือ ๑) พุทธานุสติ ระลึกถึงุณของพระพุทธเจ้า ๒) ธัมมานุสติ ระลึกถึงุณของพระธรรม ๓) สังฆานุสสติ ระลึกถึงุณของพระสงฆ์ ๔) สีลานุสติ ระลึกถึงศีลที่ตนรักษา ๕) จาานุสติ ระลึกถึงทานที่ตนบริจาแล้ว ๖) เทวตานุสติ ระลึกถึงุณที่ทำนให้เป็นเทวดา ๗) มรณัสสติ ระลึกถึงวามตายที่จะต้องมีเป็นธรรม ๘) กายตาสติ ระลึกทั่วไปในกายให้เห็นว่าไม่งาม ๙) อานาปานสติ ตั้งสติกำหนดลมหายใจเข้าออก ๑๐) อุปสมานุสติ ระลึกถึงธรรมเป็นที่สงบระงับกิเลสและวามทุกข์ ือ นิพพาน
  42. อริยบุ : บุลผู้เป็นอริยะ, ท่านผู้บรรลุธรรมวิเศษมีโสดาปัตติมรร เป็นต้น มี ๔ ือ ๑) พระโสดาบัน ๒) พระสกทาามี (หรือสกิทาามี) ๓) พระอนาามี ๔) พระอรหันต์; แบ่งพิสดารเป็น ๘ ือ พระผู้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติมรร และพระผู้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลู่ ๑, พระผู้ตั้งอยู่ในสกทาามมิมรร และพระผู้ตั้งอยู่ในสกทาามิผล ู่ ๑, พระผู้ตั้งอยู่ในอนาามิมรร และพระผู้ตั้งอยู่ในอนาามิผล ู่๑, พระผู้ตั้งอยู่ในอรหัตตมรร และพระผู้ตั้งอยู่ในอรหัตตผล ู่ ๑
  43. อสีติมหาสาวก : พระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ อง์ บางทีเรียกอนุพุทธ ๘๐ อง์ มีรายนามตามลำดับอักษร ดังนี้ (ที่พิมพ์ตัว เอน ือท่านที่เป็นเอตทัะด้วย): กังขาเรวต, กัปป, กาฬุทายี, กิมพิล, กุมารกัสสป, กุณฑธาน, ยากัสสป, วัมปติ, จุนท, จูฬปันถก, ชตุกัณณิ, ติสสเมตเตยย, โตเทยย, ทัพพมัลลบุตร, โธตก, นทีกัสสป, นันท, นันทก, นันทก, นาิต, นาลก, ปิงิย, ปิณโฑลภารทวาช, ปิลินทวัจฉ, ปุณณก, ปุณณชิ, ปุณณมันตานีบุตร, ปุณณสุนาปรันต, โปสาล, พาลุกะ (พักกุละ ก็เรียก), พาหิย ทารุนีริย, ภุ, ภัททิย (ศากยะ), ภัททิย, ภัทราวุธ, มหากัจจายน, มหากัปปิน, มหากัสสป, มหาโกฏฐิต, มหานาม, มหาปันถก, มหาโมัลลาน, เมฆิย, เมตตู, โมฆราช, ยส, ยโสช, รัฏฐปาล, ราธ, ราหุล, เรวตขทิรวนิย, ลกุณฏกภัททิย, วักกลิ, วังีส, วัปป, วิมล, สภิย, สาต, สารีบุตร, สีวลี, สุพาหุ, สุภูติ, เสล, โสณกุฏิกัณณ, โสณโกฬิวิส, โสภิต, เหมก, องุลิมาล, อชิต, อนุรุทธ, อัญญาโกณทัญญ, อัสสชิ, อานนท, อุทย, อุทายี, อุบาลี, อุปวาณ, อุปสีว, อุปเสนวังันตบุตร, อุรุเวลกัสสป
  44. อัฏฐารสเภทกรวัตถุ : เรื่องทำวามแตกกัน ๑๘ อย่าง, เรื่องที่จะก่อให้เกิดวามแตกแยกแก่สงฆ์ ๑๘ ประการ ท่านจัดเป็น ๙ ู่ (แสดงแต่ฝ่ายี่) ือ ภิกษุแสดงสิ่งมิใช่ธรรมว่าเป็นธรรม, แสดงสิ่งมิใช่วินัยว่าเป็นวินัย, แสดงสิ่งที่พระตถาตมิได้ตรัสว่าได้ตรัส, แสดงสิ่งที่พระตถาตมิได้ประพฤติ ว่าได้ประพฤติ, แสดงสิ่งที่พระตถาตมิได้บัญญัติ ว่าได้บัญญัติ, แสดงอาบัติว่ามิใช่อาบัติ, แสดงอาบัติเบาว่าเป็นอาบัติหนัก, แสดงอาบัติมีส่วนเหลือวาเป็นอาบัติไม่มีส่วนเหลือ, แสดงอาบัติหยาบายว่ามิใช่อาบัติหยาบาย (ฝ่ายู่ก็ตรงกันข้ามจากนี้ตามลำดับ เช่น แสดงธรรมว่ามิใช่ธรรม, แสดงวินัยว่ามิใช่วินัย ฯลฯ แสดงอาบัติไม่หยาบาย ว่าเป็นอาบัติหยาบาย)
  45. อามะ : ำรับในภาษาบาลี ตรงกับ ถูกแล้ว, ใช่, รับ, ่ะ, จ้ะ, เออ ถ้าผู้กล่าวรับเป็นผู้น้อยกว่าหรือมีพรรษาน้อยกว่าหรือเป็นฤหัสถ์พูดกับพระสงฆ์กล่าวต่อว่า ภันเต เป็น อามะ ภันเต ถ้าผู้กล่าวรับเป็นผู้ใหญ่กว่าหรือมีพรรษามากว่า หรือเป็นพระสงฆ์พูดกับฤหัสถ์ กล่าวตอบว่า อาวุโส เป็น อามะ อาวุโส (เขียนตามรูปบาลี เป็น อาม ภนฺเต, อาม อาวุโส)
  46. อินเดีย : ชื่อประเทศ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย ถัดจากประเทศพม่าออกไป มีเมืองหลวงชื่อ นิวเดลี (New Delhi) อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ ๓,๑๐๐ กิโลเมตร อินเดียมีเนื้อที่ทั้งหมด ๓,๒๘๗,๕๙๐ ตารางกิโลเมตร มีพลเมืองใน พ) ศ) ๒๕๒๔ ประมาณ ๖๘๓ ล้านรั้งโบราณเรียกชมพูทวีป เป็นประเทศที่เกิดพระพุทธศาสนา พุทธยา สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ ๒,๐๐๐ กิโลเมตร
  47. อุปสัมปทา : การบวช, การบวชเป็นภิกษุหรือภิกษุณี; วิธีอุปสมบทมีทั้งหมด ๘ อย่าง แต่เฉพาะที่ใช้เป็นหลักมี ๓ อย่างือ ๑) เอหิภิกขุอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยพระวาจาว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด” เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้เอง ๒) ติสรณมนูปสัมปทา หรือสรณมนูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยถึงไตรสรณะ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตให้พระสาวกทำในยุต้นพุทธกาล เมื่อณะสงฆ์ยังไม่ใหญ่นัก เมื่อทรงอนุญาตวิธีที่ ๓ แล้ว วิธีที่ ๒ นี้ก็เปลี่ยนใช้สำหรับบรรพชาสามเณร ๓) ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตให้สงฆ์ทำ ในเมื่อณะสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่ขึ้นแล้วส และเป็นวิธีใช้สืบมาจนทุกวันนี้; วิธีอุปสมบทอีก ๕ อย่าง ที่เหลือเป็นวิธีที่ทรงประทานเป็นการพิเศษ จำเพาะบุลบ้าง ขาดตอนหมดไปแล้วบ้าง ได้แก่ (จัดเรียงลำดับใหม่ เอาข้อ ๓) เป็นข้า ๘) ท้ายสุด) ๓) โอวาทปฏิหณูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยการรับโอวาท เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่พระมหากัสสปะ ๔) ปัญหาพยากรณูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยการตอบปัญหาของพระพุทธอง์ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่โสปากสามเณร ๕) รุธรรมปฏิหณูปสัมปทา (หรือ อัฏฐรุธรรมปฏิหณูปสัมปทา) การอุปสมบทด้วยการรับรุธรรม ๘ ประการ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่พระนางมหาปชาบดีโตมี ๖) ทูเตนะ อุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยทูต เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่นางณิกา (หญิงโสเภณี) ชื่ออัฑฒกาสี ๗) อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา การอุปสมบทมีวาจา ๘ ือ ทำด้วยญัตติจตุตถกรรม ๒) รั้งจากสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่ายือจากภิกษุณีสงฆ์รั้งหนึ่ง จากภิกษุสงฆ์รั้งหนึ่ง ได้แก่การอุปสมบทของภิกษุณี ๘) ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา (ข้อ ๓) เดิม)
  48. อุรุเวลกัสสป : พระมหาสาวกอง์หนึ่ง เยเป็นนักบวชประเภทชฎิล นับถือลัทธิบูชาไฟ ถือตัวว่าเป็นพระอรหันต์สร้างอาศรมสั่งสอนลัทธิของตนอยู่ใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลา เพราะเหตุที่เป็นชาวกัสสปโตร และอยู่ ณ ตำบลอุรุเวลา จึงได้ชื่อว่า อุรุเวลกัสสป ท่านผู้นี้เป็นณาจารย์ใหญ่ที่ชาวราชฤห์นับถือมาก มีน้องชาย ๒ นหนึ่งชื่อนทีกัสสป อีกนหนึ่งชื่อยากสสป ล้วนเป็นหัวหน้าชฎิลตั้งอาศรมอยู่ถัดกันไปบนฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ไม่ห่างไกลจากอาศรมของพี่ชายใหญ่ ต่อมาพระพุทธเจ้าได้เสด็จมาทรงทรมานอุรุเวลกัสสปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ต่างๆ จนห่างชฎิลใหญ่ ลายพยศ ยอมมอบตัวเป็นพุทธสาวกขอบรรพชา ทำให้ชฎิลผู้น้องทั้ง ๒ พร้อมด้วยบริวารออกบวชตามด้วยทั้งหมด รั้นบวชแล้วได้ฟังเทศนาอาทิตตปริยายสูตร จากพระพุทธเจ้า ก็ได้สำเร็จพระอรหัต ทั้งสามพี่น้องพร้อมด้วยบริวารทั้งหมดรวมหนึ่งพันอง์ พระอุรุเวลกัสสปได้รับยกย่องเป็นเอตทัะในทางมีบริษัติใหญ่ ือ มีบริวารมาก
  49. [1-48]

(0.0199 sec)