Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Budhism Thai-Thai Dict : , 22 found, display 1-22
  1. อเนญชาภิสัขาร : สภาพที่ปรุแต่ภพอันมั่นค ไม่หวั่นไหว ได้แก่ ภาวะจิตที่มั่นคแน่วแน่ด้วยสมาธิแห่จตุตถฌาน (ข้อ ๓ ในอภิสัขาร ๓); ตามหลักเขียน อาเนญชาภิสัขาร
  2. อาเนญชาภิสัขาร : ดู อเนญชาภิสัขาร
  3. ทวดึสกรรมกรณ์ : วิธีลโทษ ๓๒ อย่า ซึ่ใช้ในสมัยโบราณ เช่น โบยด้วยแส้ โบยด้วยหวาย ตีด้วยกระบอ ตัดมือ ตัดเท้า ตัดหู ตัดจมูก ตัดศีรษะ เอาขวานผ่าอก เป็นต้น
  4. ทวดึสาการ : ดู ทวัตติสาการ
  5. ปัญจัคะ : เก้าอี้มีพนักด้านเดียว, เก้าอี้ไม่มีแขน
  6. ปุญญาภิสัขาร : อภิสัขารที่เป็นบุญ, สภาพที่ปรุแต่กรรมฝ่ายดี ได้แก่กุศลเจตนา (เฉพาะที่เป็นกามาวจรและรูปวจร) (ข้อ ๑ ในอภิสัขาร ๓)
  7. อปุญญาภิสัขาร : สภาพที่ปรุแต่กรรมฝ่ายชั่ว ได้แก่ อกุศลเจตนาทั้หลาย (ข้อ ๒ ในอภิสัขาร ๓)
  8. อิทธาภิสัขาร : การปรุแต่ฤทธิ์ขึ้นทันใด, การบันดาลด้วยฤทธิ์
  9. เอกาสนิกัคะ : ค์แห่ผู้ถือนั่ฉันที่อาสนะเดียวเป็นวัตร คือ ฉันวันละมื้อเดียว ลุกจากที่แล้วไม่ฉันอีกในวันนั้น (ข้อ ๕ ในธุดค์ ๑๓)
  10. กัณฐชะ : อักษรเกิดในคอ คือ อ อา ก ข ค ฆ
  11. อุปาทายรูป : รูปอาศัย, รูปที่เกิดสืบเนื่อจากมหาภูตรูป, อาการขอมหาภูตรูป ตามหลักฝ่ายอภิธรรมว่า มี ๒๔ คือ ก) ประสาท หรือ ปสาทรูป ๕ ได้แก่ จักขุ ตา, โสต หู, ฆาน จมูก, ชิวหา ลิ้น, กาย, มโน ใจ, ข) โคจรรูป หรือ วิสัยรูป (รูปที่เป็นอารมณ์) ๕ ได้แก่ รูป เสีย กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (โผฏฐัพพะ ไม่นับเข้าจำนวน เพราะตรกับปฐวี เตโช วาโย ซึ่เป็นมหาภูตรูป) ค) ภาวรูป ๒ ได้แก่ อิตถีภาวะ ความเป็นหญิ และปุริสภาวะ ความเป็นชาย ) หทัยรูป ๑ คือ หทัยวัตถุ หัวใจ จ) ชีวิตรูป ๑ คือ ชีวิตินทรีย์ ภาวะที่รักษารูปให้เป็นอยู่ ฉ) อาหารรูป ๑ คือกวฬิการาหาร อาหารที่กินเกิดเป็นโอชา ช) ปริจเฉทรูป ๑ คือ อากาศธาตุ ช่อว่า ญ) วิญญัติรูป ๒ คือ กายวิญญัติ ไหวกายให้รู้ความ วจีวิญญัติ ไหววาจาให้รู้ความ คือพูดได้ ฎ) วิการรูป ๕ อาการดัดแปลต่าๆ ได้แก่ ลหุตา ความเบา, มุทุตา ความอ่อน, กัมมัญญตา ความควรแก่าน, (อีก ๒ คือ วิญญัติรูป ๒ นั่นเอ ไม่นับอีก) ฏ) ลักขณรูป ๔ ได้แก่ อุปจยะ ความเติบขึ้นได้, สันตติ สืบต่อได้, ชรตา ทรุดโทรมได้, อนิจจตา ความสลายไม่ยั่ยืน (นับโคจรรูปเพีย ๔ วิการรูป เพีย ๓ จึได้ ๒๔); ดู มหาภูต ด้วย
  12. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีาม มี ๒๕ แบ่เป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีามทุกดว) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลาในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสบแห่กอเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่จิต) กายลหุตา (ความเบาแห่กอเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่จิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่กอเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่จิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่านแห่กอเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่จิต) กายปาคุญญตา (ความคล่อแคล่วแห่กอเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่จิต) กายชุกตา (ความซื่อตรแห่กอเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่จิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) .ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  13. กรวดน้ำ : ตั้ใจอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วลับ พร้อมไปกับหลั่รินน้ำเป็นเครื่อหมาย และเป็นเครื่อรวมกระแสจิตที่ตั้ใจอุทิศนั้นให้แน่วแน่; เริ่มรินน้ำเมื่อพระอค์หัวหน้าเริ่มสวดยถา รินน้ำหมดพร้อมกับพระหัวหน้าสวดยถาจบ และพระทั้หมดเริ่มสวดพร้อมกัน จากนั้นวาที่กรวดน้ำลแล้วประนมมือรับพรต่อไป; คำกรวดน้ำอย่าสั้นว่า อิทั โน ญาตีนั โหตุ ขอส่วนบุญนี้จสำเร็จแก่....(ออกชื่อผู้ล่วลับ) และญาติทั้หลายขอข้าพเจ้าเถิด จะต่ออีกก็ได้ว่า สุขิตา โหนตุ ญาตโย ขอญาติทั้หลายจเป็นสุขเถิด - to pour the water of dedication (to transfer merit to other beings)
  14. ทวัตติสกรรมกรณ์ : ดู ทวดึสกรรมกรณ์
  15. ทวัตติสาการ : อาการ ๓๒, ส่วนประกอบที่มีลักษณะต่าๆ กัน ๓๒ อย่า ในร่ากาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนั เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พัผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า (อุจจาระ) มันสมอ ดี เสลด หนอ เลือด เหื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร (ปัสสาวะ); ในขุททกปาฐะ (ฉบับสยามรัฐ) เรียลำดับมันสมอไว้เป็นข้อสุดท้าย; ทวัตดึสาการ หรือ ทวดึสาการ ก็เขียน
  16. ธุดค์ : ค์คุณเครื่อกำจัดกิเลส, ชื่อข้อปฏิบัติประเภทวัตร ที่ผู้สมัครใจจะพึสมาทานประพฤติได้ เป็นอุบายขัดเกลากิเลส ส่เสริมความมักน้อยสันโดษเป็นต้น มี ๑๓ ข้อคือ หมวดที่ ๑ จีวรปฏิสัยุต-เกี่ยวกับจีวร มี ๑.ปัสุกูลิกัคะ ถือใช้แต่ผ้าบัสุกุล ๒.เตจีวริกัคะ ใช้ผ้าเพีย ๓ ผืน; หมวดที่ ๒ ปิณฑปาตปฏิสัยุต-เกี่ยวกับบิณฑบาต มี ๓.ปิณฑปาติกัคะ เที่ยวบิณฑบาตเป็นประจำ ๔.สปทานจาริกัคะ บิณฑบาตตามลำดับบ้าน ๕.เอกาสนิกัคะ ฉันมื้อเดียว ๖.ปัตตปิณฑิกัคะ ฉันเฉพาะในบาตร ๗.ขลุปัจฉาภัตติกัคะ ลมือฉันแล้วไม่ยอมรับเพิ่ม; หมวดที่ ๓ เสนาสนปฏิสัยุต -เกี่ยวกับเสนาสนะมี ๘.อารัญญิกัคะ ถืออยู่ป่า ๙.รุกขมูลิกัคะ อยู่โคนไม้ ๑๐.อัพโภกาสิกัคะ อยู่กลาแจ้ ๑๑.โสสานิกัคะ อยู่ป่าช้า ๑๒.ยถาสันถติกัคะ อยู่ในที่แล้วแต่เขาจัดให้; หมวดที่ ๔ วิริยปฏิสัยุต-เกี่ยวกับความเพียร มี ๑๓.เนสัชชิกัคะ ถือนั่อย่าเดียวไม่นอน (นี้แปลเอาความสั้นๆ ความหมายละเอียด พึดูตามลำดับอักษรขอคำนั้นๆ) ธุระ “สิ่ที่จะต้อแบกไป”, หน้าที่, ภารกิจ, การาน, เรื่อที่จะต้อรับผิดชอบ, กิจในพระศาสนา แสดไว้ในอรรถกถา ๒ อย่าคือ คันถธุระ และวิปัสสนาธุระ
  17. บุญญาภิสัขาร : ดู ปุญญาภิสัขาร
  18. ปริยาย : การเล่าเรื่อ, บรรยาย; อย่า, ทา, นัยอ้อม, แ
  19. มัคลัตถทีปนี : ชื่อคัมภีร์อธิบายมคล ๓๘ ประการ ในมคลสูตร พระสิริมัคลาจารย์แห่ลานนาไทย รจนาขึ้นที่เมือเชียใหม่ เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ โดยรวบรวมคำอธิบายจากอรรถกถาฎีกา อนุฎีกาต่าๆ เป็นอันมาก พร้อมทั้คำบรรยายขอท่านเอ
  20. ศีล ๘ : สำหรับฝึกตนให้ยิ่ขึ้นไปโดยรักษาในบาโอกาส หรือมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้ เช่น แม่ชีมักรักษาประจำ หัวข้อเหมือนศีล ๕ แต่เปลี่ยนข้อ ๓ และเติมข้อ ๖-๗-๘ คือ ๓.เว้นจากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้นจากร่วมประเวณี ๖.เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล คือเที่ยแล้วไป ๗.เว้นจากฟ้อนรำ ขับร้อ บรรเลดนตรี ดูการเล่นอันเป็นข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรดอกไม้ ขอหอม และเคลื่อลูบไล้ซึ่ใช้เป็นเครื่อประดับตกแต่ ๘.เว้นจากที่นอนอันสูใหญ่ หรูหราฟุ่มเฟือย; คำสมาทาน (เฉพาะที่ต่าจากศีล ๕) ว่า ๓.อพฺรหฺมจริยา- ๖.วิกาลโภชนา- ๗.นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา- ๘.อุจฺจาสยนมหาสยนา- (คำต่อท้ายเหมือนข้อ ๑ ในศีล ๕); ดู อาราธนาศีล ด้วย
  21. คุลิมาล : พระมหาสาวกอค์หนึ่ขอพระพุทธเจ้า เคยเป็นมหาโจรโด่ดัเป็นบุตรขอภัคควพราหมณ์ ผู้เป็นปุโรหิตขอพระเจ้าโกศล มารดาชื่อนามันตานีพราหมณ์ เดิมชื่ออหิสกะ (แปลว่าผู้ไม่เบียดเบียน) ไปศึกษาศิลปศาสตร์ในสำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์ เมือตักสิลา มีความรู้และความประพฤติดี เพื่อนศิษย์ด้วยกันริษยา ยุอาจารย์ให้กำจัดเสีย อาจารย์ลวด้วยอุบายให้ไปฆ่าคนครบหนึ่พัน แล้วจะมอบวิชาวิเศษอย่าหนึ่ให้ จึกลายเป็นมหาโจรผู้โหดร้ายทารุณ ตัดนิ้วมือคนที่ตนฆ่าตายแล้ว ร้อยเป็นพวมาลัย จึได้ชื่อว่า อฺคุลิมาล (แปลว่ามีนิ้วเป็นมาลัย) ภายหลัพระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดกลับใจได้ ขอบวช ต่อมาก็ได้สำเร็จพระอรหัต ท่านเป็นต้นแห่พุทธบัญญัติไม่ให้บวชโจรที่ขึ้นชื่อโด่ดั
  22. อภิสัขาร : สภาพที่ปรุแต่ผลแห่การกระทำการทำกรรม มี ๓ อย่าคือ ๑) ปุญญาภิสัขาร อภิสัขารที่เป็นบุญ ๒) อปุญญาภิสัขาร อภิสัขารที่เป็นปฏิปักษ์ต่อบุญ คือ บาป ๓) อาเนญชาภิสัขาร อภิสัขารที่เป็นอเนญชา คือ กุศลเจตนาที่เป็นอรูปาวจร ๔; เรียก่ายๆ ได้แก่ บุญ บาป ฌาน
  23. [1-22]

(0.0062 sec)