Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 1001-1050
  1. อฏฺฐิสงฺฆาต : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
  2. อณฺห : (ปุ.) วัน. อห ศัพท์ แปลงเป็น อณฺห.
  3. อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
  4. อทฺธภูต : (วิ.) เป็นเฉพาะแล้ว, เป็นยิ่งแล้ว.อธิ+ภู ธาตุตปัจ.ภู ธาตุอยู่หนปลายแปลงอธิเป็นอทฺธ.
  5. อนฺวฑฺฒมาสอนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือนโดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์.วิ.อนุปุ-พฺเพนอฑฺฒมาสํอทฺธมาสํวาอนฺวฑฺฒมาสํอนฺวทฺธมาสํวา.ลบปุพฺพแปลงอุที่นุเป็นอ.
  6. อนสฺสว : (วิ.) ไม่ฟังตาม, ไม่เชื่อฟัง, ว่าไม่ฟัง.อนุ+สุ ธาตุ ณปัจ. แปลงอุ ที่อนุเป็นอพฤทธิอุที่สุเป็นโอ แปลงโอเป็น อวซ้อนสฺ.
  7. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  8. อปรรตฺต : (นปุ.) อื่นแห่งราตรี.รตฺติ+อปรแปลง อิ เป็น อ กลับบท.
  9. อพฺภกฺขาน : (นปุ.) การกล่าวตู่, การกล่าวครอบงำ, การกล่าวข่มขี่, คำกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวหาความ.อภิ+อกฺขานแปลงอิเป็นยรวมเป็นภฺยแปลงภฺยเป็นพฺภ.หรือแปลงอภิเป็นอพฺภ. อสฺจเจนอกฺขานํอพฺภกฺขานํ.ตุจฺฉภาสนํอพฺภกฺขานํนาม.
  10. อพฺยย : (วิ.) คงที่, อยู่ที่, ไม่สิ้น, ไม่เสื่อม, ไม่แปลง, ไม่เปลี่ยน, ไม่เปลี่ยนแปลง, ไม่แปลผัน, ไม่ฉิบหาย.นปุพฺโพ, พฺยยฺขเย, อ.
  11. อลกฺกอฬกฺก : (ปุ.) สุนัขบ้า.อลฺ นิวารเณ, ณฺวุ.แปลงก (ซึ่งแปลงมาจาก ณฺวุ)เป็นกฺก.ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.เป็นอลํกโดยลงนิคคหิตอาคมและไม่แปลงกเป็นกฺกบ้างส.อลก.
  12. อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
  13. อวมญฺญน : (นปุ.) ความสำคัญ, ความเข้าใจ.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, ยุ.ลงยปัจ.ประ-จำหมวดธาตุก่อนเป็นนฺยแปลงนฺยเป็นญฺญแปลงยุเป็นอน.
  14. อสฺสฏฺฐอสฺสตฺถ : (ปุ.) ไม้โพธิ์, ต้นโพธิ์.วิ.อสฺสํสพฺพญฺญุตญาณํติฏฺฐติเอตฺถาติ อสฺสตฺโถ.อภิฯ อสฺส+ฐิตแปลงฐิตเป็นตฺถฏีกาอภิฯอสฺส+ฐซึ่งสำเร็จรูปมาจากฐาธาตุอปัจ.แปลงฐ เป็น ถแล้วแปลงถเป็นตฺถศัพท์ต้นแปลงตฺถ เป็นฏฺฐ.ถ้าตั้งฐา, ถาธาตุก็แปลงฐเป็นฏฺฐ, ถเป็นตฺถหรือตั้งอาปุพฺโพ, สาสฺอนุสิฏฺฐิ-โตสเนสุ.ลงอปัจ. ประจำหมวดธาตุและตปัจ.แปลงตเป็นฏฺฐ, ตฺถรัสสะอาทั้งสองเป็นอ.
  15. อหีนินฺทริย : ค. มีอินทรีย์ไม่เลว, มีร่างอันไม่บกพร่อง
  16. อากาสานญฺจ : (นปุ.) อากาศไม่มีที่สุด.อากาสา-นนฺต+ณฺยปัจ.ภาวตัท.ลบอที่ตเหลือเป็นตฺลบณฺรวมเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจแปลงนฺเป็นนิคคหิตแปลง นิคคหิตเป็นญฺรูปฯ ๔๑, ๓๗๑.
  17. อากุจฺจ : (ปุ.) จะกวดตะกวดชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง อยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบกรูปร่างคล้ายจิ้งจกแต่ตัวใหญ่กว่ามาก.
  18. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  19. อาตตายี : (ปุ.) คนร้าย, นักโทษ.อาปุพฺโพ, ตาปาลเน, ณี, ทฺวิตฺตํ(แปลงตเป็นตฺต), อาสฺสอาโย(แปลงอาเป็นอาย). แปลว่าเพชฌฆาต บ้าง.ส. อาตตายินฺ.
  20. อาถพฺพน : (ปุ.) หมอผู้กำจัดโรคร้ายของช้าง.วิ.อาภุโสหตฺถิโนโรคํถุพฺพตีติอาถพฺพโนอาปุพฺโพ, ถุพฺพฺหึสายํ, ยุ, อุสสตฺตํ (แปลงอุเป็นอ). อปิจ, อาภุโส หตฺถิสฺมึเภสชฺชํถเปตีติอาถพฺพโน.อาปุพฺโพ, ถปฺถปเน, ยุ, ปสฺสโว (แปลงป เป็น ว), วสฺสทวิตตํ(แปลงว เป็น วฺวแล้ว แปลงเป็นพฺพ).เวสฯ ๒๔๒.
  21. อาเทส : (ปุ.) การแปลง, การแผลง (สระพยัญชนะและ นิคคหิตตามกฏของบาลีไวยากรณ์), การเปลี่ยนแปลง.อาปุพฺโพ, ทิสฺหึสายํ, อ.ส.อาเทศ.
  22. อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
  23. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  24. อิลฺลี : (อิต.) อิลลี ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน ชื่อ เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า. เป็น อิลี โดยไม่แปลง ล เป็น ลฺล บ้าง.
  25. อุปกฏฺฐ  อุปกฺกฏฺฐ : (วิ.) ใกล้, จวน. วิ. กณฺฐํ สมีป มุปคโต อุปกฏฺโฐ, กณฺฐสฺส กฏฺฐา- เทโส, ณโลโป วา, ฏฺสํโยโค. ลบ คต แล้วเปลี่ยนบทหน้าที่แปลงเป็น กฏฺฐ ไว้ หลัง. ส. อุปกณฺฐ.
  26. อุฬุป อุฬุปฺป อุฬุมฺป : (ปุ.) พวง (กลุ่มของที่ ห้อยย้อยไปทางเดียวกัน), แพ (กลุ่มของที่ เอามาผูกติดกันเป็นพาหนะทางน้ำ), ป่าไม้ (ดื่มน้ำไว้ ซับน้ำไว้ รักษาน้ำไว้). อุปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ ศัพท์ ที่ ๓ ลงนิคคหิตอาคม แล้วแปลง เป็น มฺ.
  27. เอตฺตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้ วิ. เอตํ ปริมาณํ อสฺสาติ เอตฺตกํ. เอต ศัพท์ซึ่งแปลงมาจาก อิม ศัพท์ ตฺตก ปัจ. ลบ ต ที่สุดทรัพย์.
  28. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  29. โอโกฏิมก : (วิ.) มีรูปร่างเล็ก.
  30. โอฏฺฐ : (ปุ.) ปาก, ริมฝีปาก, ขอบ. อุสฺ ทาเห, โต, ตสฺส ฏฺโฐ, สฺโลโป, โอตฺตํ (แปลง, อุ เป็น โอ). ส. โอษฺฐฺ.
  31. โทณิ, - ณิกา, - ณี : อิต. เรือชะล่า, เรือโกลน, เรือแจว; ราง, ลำราง
  32. โอภรติ : ก. นำไป, นำออกไป, หิ้ว, หาม, ปลง
  33. โอหาร : (วิ.) นำลง, ปลง, ปลงลง, ยกลง.
  34. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  35. ชลนยน ชลเนตฺต : (นปุ.) น้ำแห่งตา, น้ำตา, ชลนัยน์ ชลนา ชลเนตร (น้ำตา). นยน + ชล, เนตฺต+ชล. เป็น ส.ตัป กลับ บทหน้า ไว้หลัง เมื่อเป็นบทปลง.
  36. ฌาปน : (นปุ.) การเผา, การเผาศพ, การปลง ศพ (เผาศพ) ฌาปฺ ทาเห, ยุ.
  37. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  38. เทเสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, แนะนำ, สั่งสอน, เทศน์; แสดงหรือปลง (อาบัติ)
  39. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  40. ธารา : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
  41. ปนฺนภาร : ค. ผู้มีภาระอันปลงลงแล้ว, ผู้ปลงภาระลงแล้ว, ผู้หมดภาระ, ผู้เสร็จกิจ, ผู้หลุดพ้นแล้ว
  42. ปมุญฺจติ : ก. เปลื้อง, แก้, ปลดปล่อย; เปล่ง; สะบัด
  43. ปยิรุทาหรติ : ก. เปล่ง, ประกาศ
  44. ปสฺสาวโฑณิกา : อิต. รางสำหรับปัสสาวะ
  45. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  46. โปกฺขร : (ปุ.) ช่องพิณ, รางพิณ. วิ. โปเสติ วฑฺเฒติ สทฺเทติ โปกฺขโร. ปุสฺ โปสเน วุฑฺฒิยํ วา, ขโร, อุสฺโส, สสฺสโก. กฏฐาทีหิ โทณิสณฺฐาเนน กตํ วชฺชภณฺฑํ วีณาย โปกฺขโร นาม. เป็น นปุ. บ้าง.
  47. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  48. มาณิกา : อิต. เครื่องตวงรูปเหมือนราง
  49. มาณิกา มานิกา : (อิต.) มาณิกา มานิกา ชื่อ ภาชนะสำหรับตวง รูปเหมือนราง. ๔ โทณะ เป็น ๑ มาณิกา, มานิกา.
  50. มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | [1001-1050] | 1051-1070

(0.0943 sec)