Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 151-200
  1. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  2. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  3. โคณ : (ปุ.) โค, โคผู้. วิ. คจฺฉตีติ โคโณ. คมฺ คติยํ, ยุ, มฺโลโป, อสฺโส แปลง น ซึ่งแปลง จาก ยุ เป็น ณ.
  4. โครกฺข : (ปุ.) ชาวนา, ชาวไร่. วิ. คํ ปฐวึ รกฺขตีติ โครกฺโข. คปุพฺโพ, รกฺขฺ ปาลเน, อ, อสฺโส (แปลง อ ที่ ค เป็น โอ).
  5. โคฬปตฺต : (นปุ.) กระหล่ำปลี.เบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, ณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  6. ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
  7. ฆจฺจ : (ปุ.?) การฆ่า, การทำลาย, การเบียดเบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, โณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลงตฺย เป็น จฺจ.
  8. ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
  9. ฆมฺม : (วิ.) ร้อน, อบอุ่น. ฆรฺ เสจเน, รมฺโม. ลบ รฺ และลบตัวเองคือ ร หรือลง ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ
  10. ฆรโคลิกา : (อิต.) จิ้กจก, ตุ๊ดตู่ ชื่อสัตว์ชนิด หนึ่งคล้ายตุ๊กแก, ตุ๊กแก. วิ. ฆรสนฺนิสฺสิตา โคธา โคลิกา ฆรโคลิกา. แปลง ธ เป็น ล ก สกัด อิ อาคม. เป็น ฆรโคฬิกา บ้าง.
  11. ฆาฏก : (ปุ.) ต้นมะขาม, ต้นมะกา, ต้นกระ- เบียน, ต้นมูกใหญ่. คนผู้ฆ่า. ฯลฯ หฏฺ หึสายํ, ณฺวุ. แปลง ห เป็น ฆ.
  12. โฆณส : (ปุ.) งู. โฆรศัพท์ ส ปัจ. แปลง ร เป็น ณ.
  13. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  14. จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  15. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  16. จงฺกมน : (นปุ.) การเดินไปและ การเดินมา, การเดินไปมา, การก้าวไป และการก้าวมา, การก้าวไปก้าวมา. วิ. กโม จ อากโม จ จงฺกโม. กโม จ อากมนญฺจ จงฺกมนํ. กม+อากม,กม+อากมน. แปลง ก เป็น จ แปลง ม เป็น นิคคหิต ลบ อา แปลง นิคคหิต เป็น งฺ.
  17. จณฺฑิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนดุร้าย, ฯลฯ จณฺฑาล + กณฺ ปัจ. ภาวตัท แปลง อา เป็น อิ แปลง ล เป็น ก.
  18. จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, ฬ. รูปฯ ๓๙๗.
  19. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  20. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  21. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  22. จนฺทิมนฺตุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ วิ. จนฺทํ กปฺปูรํ มาติ สทิสํ นยตีติ จนฺทิมา. จนฺทปุพฺโพ, มา มานสทฺเทสุ, ตุ,นฺตุอาเทโส ( แปลง ตุ เป็น นฺตุ ), อิการาเทโส ( แปลง อ ที่ ท เป็น อิ ). ฎีกาอภิฯ.
  23. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  24. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  25. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  26. จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
  27. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  28. จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
  29. จุจิ : (นปุ.) ทรวง, ทรวงอก, หน้าอก. จิกฺ อามสเน, อิ. แปลง อิ ที่ จิ เป็น อุ แปลง กฺ เป็น จฺ.
  30. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  31. จุล จุลฺล จุฬ : (วิ.) น้อย, เล็ก, ละเอียด, ป่น. จุฬฺ เปรเณ, อ. ศัพท์แรก แปลง ฬ เป็น ล ศัพท์ที่สอง แปลง ล เป็น ลฺล หรือ จิ จเย, อุโล, อิสฺสุ.
  32. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  33. โจตฺตาลีส โจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบสี่. จตุ+ ตาลีส. รูปฯ ๒๕๖ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลบ ตุ ซ้อน ตฺ. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๐ แปลง จตุ เป็น จุ, โจ.
  34. โจล โจฬ : (นปุ.) ผ้า, แผ่นผ้า, ท่อนผ้า, จิลฺ วสเน, โณ, อิสฺโส. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. อถวา, จุ จวเน, โล, โฬ. ส. ไจล, โจล.
  35. ฉกลก ฉคลก : (ปุ.) แพะ วิ. ฉินฺทนฺโต คจฺฉตีติ ฉกลโก ฉคลโก วา. ฉ มาจาก โฉ ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. กล, คล มาจาก คมฺ ธาตุ อ ปัจ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. แปลง ม เป็น ล ศัพท์ต้น แปลง ค เป็น ก ลง ก สกัด. ส. ฉค.
  36. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  37. ฉฏฺฐ ฉฏฺฐม : (วิ.) ที่หก วิ. ฉนฺนํ ปูรโณ ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐโมวา.ฉ ศัพท์ ฐ ปัจ. ปูรณตัท. ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง แปลง ฉฏฺฐ เป็น ฉฏฺฐม รูปฯ ๓๙๑. สัททนีติว่า ลง ม สกัด. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๔ ลง ฎฺฐ, ฏฺฐม ปัจ.
  38. ฉตฺต : (นปุ.) ซากศพ. ฉฏฺฏฺ ฉฑฺฑเน, อ. แปลง ฏฺฏ เป็น ตฺต.
  39. ฉทฺท : (นปุ.) หลังคา, หลังคาบ้าน. วิ. ฉาเทติ เอเตนาติ ฉทฺทํ. ฉทฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ท เป็น ทฺท.
  40. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  41. ฉมณฺฑ : (ปุ.) ลูกกำพร้า (ไร้พ่อไร้แม่ ). ฉฑฺฑฺ ฉฑฺฑเน, อ. แปลง ฑฺ ตัวสังโยคเป็น ทฺ แล้วแปลง ทฺ เป็น ม แปลง ฑ ตัวท้ายเป็น ท แล้วแปลงเป็น ณฺฑ.
  42. ฉลายตน ฉฬายตน : (นปุ.) อายตนะหก. ฉ+ อายตน ลฺ อาคม ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  43. ฉวฑาหก ฉวฬาหก : (ปุ.) สัปเหร่อ (คนผู้ทำ หน้าที่เกี่ยวกับศพ คนผู้ทำหน้าที่เผาศพ) ฉวปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ณฺวุ, ทสฺส โฑ. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ฬ.
  44. ฉวิ : (วิ.) งาม, รุ่งเรือง, เปล่งปลั่ง, ผ่องใส, สุกใส, ฉิ ทิตฺติยํ, ณิ. แปลง อิ ที่ ฉิ เป็น อุ พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
  45. ฉฬภิญฺญา : (อิต.) อภิญญาหก. ฉ+อภิญฺญา ลฺ อาคม แปลง ล เป็น ฬ.
  46. ฉาค ฉาคล : (ปุ.) แพะ, แกะ. ฉบทหน้า คมฺ ธาตุ อปัจ. ลบ ม ศัพท์หลังไม่ลบ แปลง ม เป็น ล ทีฆะ อ ที่ ฉ. ส. ฉาค.
  47. ฉาป ฉาปก : (ปุ.) ลูกน้อย. ฉุปฺ สมฺผสฺเส, โณ, อุสฺสาตฺตํ (แปลง อุ เป็น อา) ศัพท์หลัง ก สกัด.
  48. ฉิคฺคล : (นปุ.) รู, ช่อง, โพรง, ขุม, หลุม, บ่อ. วิ. ฉินฺทิตฺวา คจฺฉตีติ ฉิคฺคลํ. ฉิ+คมฺ+อ ปัจ. แปลง ม. เป็น ล ซ้อน คฺ.
  49. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  50. ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1070

(0.0812 sec)