Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 201-250
  1. ชฆน : (นปุ.) เอว, ตะโพก. วิ. หญฺญตีติ ชฆนํ. หนฺ หึสาคตีสุ, อ. เท๎วภาวะ ห แปลงเป็น ช แปลง ห ตัวธาตุเป็น ฆ.
  2. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  3. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  4. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  5. ชจฺจนฺธ : (วิ.) บอดแต่กำเนิด, บอดโดยกำเนิด. วิ ชาติยา อนฺโธ ชจฺจนฺโธ. ชาติ+อนฺธ สำเร็จโดยวิธีสนธิดังนี้ แปลง อิ เป็น ย เป็น ชาตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ รัสสะ อา เป็น อ รวมเป็น ชจฺจนฺธ รูปฯ ๓๓๖.
  6. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  7. ชนวาท : (ปุ.) การกล่าวโทษ. ชส + วาท แปลง ส เป็น น.
  8. ชนิก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. แปลง อ ที่ น เป็น อิ.
  9. ชมฺพาล : (ปุ.) เปือกตม (เลนตมที่ละเอียด) วิ. ชลํ พลเตติ ชมฺพาโล. พลฺ ปาณเน, โณ แปลง ล ที่ ชล เป็น ม. ส. ชมฺพาล.
  10. ชย : (วิ.) ผู้ชนะ วิ.ชินาตีติ ชโย.ชิ ชเย, อ. โณ วา. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  11. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  12. ชยฺย : (วิ.) ประเสริฐ, เจริญ, ชิ ชเย, โย.แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  13. ชรคฺคว : (ปุ.) โคแก่, วัวแก่. ชร+โค แปลง โอ อว ซ้อน ค.
  14. ชลาพุ : (ปุ.) มดลูก (อวัยวะภายในของสตรี อันเป็นที่ตั้งครรภ์) วิ. ชรํ เอตีติ ชลาพุ. ชราปุพฺโพ, อิ คติยํ, อุ แปลง รา เป็น ลา อิ เป็น เอ เอ เป็น อย ย เป็น พ.
  15. ชวนิกา : (อิต.) ผ้าม่าน. ชุ คติยํ พนฺธเน วา, ยุ, อนกาเทโส (แปลง ยุ เป็น อนก), อิอาคโม.
  16. ชฬ : (วิ.) เขลา, โง่, โง่เขลา, โง่เง่า (โง่มาก), เงอะงะ, เซอะซะ. ชลฺ อปวารเณ, อ. แปลง ล เป็น ฬ.
  17. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  18. ชาน ชานน : (นปุ.) อันรู้, ความรู้, ญา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ญา เป็น ชา ยุ เป็น อน, อานน. ส. ชานน.
  19. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  20. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  21. ชาลา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ไฟ, เปลวไฟ, โคมไฟ. วิ. ชลตีติ ชาลา. ชลฺ ทิตฺติยํ, โณ. ชลฺ อปวารเณ วา. ชิ อภิเวชิเต วา, โล. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา.
  22. ชิคจฺฉา ชิฆจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาเพื่อ อันกิน, ความปรารถนาเพื่อจะกิน, ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความอยาก, ความหิว. วิ. ฆสิตุ มิจฉา ชิฆจฺฉา. ฆสฺ อทเน, โฉ, อิจฺฉตฺเถ โฉ. เทวภาวะ ฆ แปลง สฺ เป็น จฺ ศัพท์แรก แปลง ฆ เป็น ค รูปฯ ๕๘๓. ส. ชิฆตฺสา.
  23. ชิคุจฺฉ : (วิ.) ติเตียน, เกลียด, น่าเกียด, ชัง, น่า ชัง. คุปฺ กุจฺฉเน, โฉ. เทวภาวะ คุ แปลง คุ เป็น ชุ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ปฺ เป็น จฺ.
  24. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  25. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  26. ชีรณ : (นปุ.) ความแก่, ฯลฯ ชรฺ ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง อ เป็น อี. ส. ชีรฺณ.
  27. ชุณฺหา : (อิต.) รัศมีพระจันทร์, แสงจันทร์. วิ. ชุติ อสฺสาตฺถีติ ชุณฺหา. ชุติศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิ เป็น อ แปลง ต เป็น ณ. จนฺทสฺส ชุตึ โสภํ นยฺหติ พนฺธตีติ วา ชุณฺหา. คืน เดือนหงาย, วันดือนหงาย. ชุต (นปุ.?) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อ ปัจ.
  28. ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
  29. เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
  30. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  31. โชติรส : (วิ.) มีรัศมีอันรุ่งเรือง, (มณี) มีน้ำ (รัศมี) อันโชติช่วง. โชติ+รํสิ ลบนิคคหิต แปลง อิ เป็น อ หรือ โชติ + รส (รัศมี) ก็ได้.
  32. ญตฺต : (วิ.) ใกล้ วิ. ญายเตติ ญตฺตํ. ญา อวโพธเน, โต, รัสสะ แปลง ต เป็น ตฺต.
  33. ญาตก : (ปุ.) คนรู้จัก, คนรู้จักกัน, พี่น้อง, ญาติ. วิ. ญาติ เอว ญาตโก. แปลง อิ เป็น อ ก สกัด.
  34. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  35. ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
  36. ฏฏฺฏรี : (ปุ.) คนตลก, คนตลกคะนอง, จำอวด ( การแสดงเป็นหมู่ โดยใช้ถ้อยคำทำให้ ขบขัน). ฏลฺ เวลมฺเพ, อี. เทวภาวะ ฏ ซ้อน ฏฺ แปลง ล เป็น ร.
  37. ฏาร : (ปุ. นปุ.) เรือน, ฏี อจฺฉาทเน, โร. แปลง อี เป็น อา
  38. เฏร เฏรก : (วิ.) เหล่ เช่นตาเหล่. ฏุ ปีฬนธํ – เสสุ, โร. แปลง อุ เป็น เอ ศัพท์หลัง ก สกัด. ดำรงค์อยู่. ฐา คตินิวตฺติยํ, อ. .
  39. ฐายิ : (วิ.) หยุดอยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงค์อยู่. ฐา ธาตุ อิ ปัจ. แปลง อา เป็น อาย.
  40. ฐิต : (นปุ.) การหยุด, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ. ฐาธาตุ ต ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  41. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  42. ฑาก : (ปุ.) ผัก (สำหรับดองหรือแกง), ผัก ดอง, เมี่ยง. วิ. เฑติ ภตฺต เมเตนาติ ฑาโก. ฑิ ปเวสเน, โณ. พฤทธิ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา ก สกัด หรือตั้ง ฑํสฺ+ณฺวุ ลบ นิคคหิต และ สฺ
  43. ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
  44. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  45. ตตฺต : (ปุ.) แดด. ตปฺ ทาเห, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ
  46. ตติย : (วิ.) ที่สาม, ครบสาม, คำรบสาม. วิ. ติณฺณํ ปูรโณ ตติโย. ติ ศัพท์ ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ติ เป็น ต.
  47. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  48. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  49. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  50. ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1070

(0.0647 sec)