Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 401-450
  1. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  2. นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
  3. นิชิคึสน : (นปุ.) การแสวงหา, ความแสวงหา. นิ+หรฺ+ส และ ยุ ปัจ. เท๎วภาวะ ห แปลง หรฺ เป็น คึ แปลง ห เป็น ช เอา อ ที่ ช เป็น อิ.
  4. นิทหน : (นปุ.) อันเก็บไว้, การเก็บไว้. นิ+ธา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ธา เป็น ทห.
  5. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  6. นิปชฺชน : (นปุ.) การถึง, การนอน, นิปุพโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  7. นิปฺผชฺช : (นปุ.) ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺย แปลง ป เป็น ผ ทฺย เป็น ชฺช ซ้อน ปฺ.
  8. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  9. นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  10. นิพฺพุทฺธ : (นปุ.) การชกกัน วิ. อโธภาคํ พนฺธนํ วา กตฺวา ยุชฺฌนฺตฺยเตฺรติ นิพฺพุทฺธํ. นิปุพฺโพ, ยุธฺ สมฺปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ แปลง ยุ เป็น พุ. อญญมญญสฺส เวธํ นิพฺเพเธฺนฺตฺยเตฺรติ วา นิพฺพุทฺธํ เวธฺ เวธเน โต, เอสฺสุ.
  11. นิมฺพ : (ปุ.) สะเดา วิ. นมติ ผลภาเรนาติ นิมฺโพ, นมุ นมเน, โพ. แปลง อ ที่ น เป็น อิ หรือตั้ง นิ นเย. ลง มฺ อาคมท้ายธาตุ. ชายคา, แง้มประตู ก็แปล.
  12. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  13. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  14. นิยุร : (ปุ.) ทองปลายแขน, กำไรมือ. นิ นเย, อุโร, อิยาเทโส (แปลง อิ เป็น อิย).
  15. นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
  16. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  17. นิวากต : (นปุ.) มหรสพ (การกระทำคือแสดง ของคณะ). นิวห+กต แปลง ห เป็น อา.
  18. ปตฺตวงฺคิ : (ปุ.) เห็ด. ปตฺต +วงฺก+อิปัจ. แปลง ก เป็น ค.
  19. ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
  20. ปถพฺย : (นปุ.) ดิน, แผ่นดิน. ปถวี + ณ ปัจ. ภาวตัท. สกัด รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ.
  21. ปถวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ, ออาคโม. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว อุ ที่ ปุ เป็น อ อี อิต. อถวา,ปถวติ เอตฺถา ติ ปถวี. ปปุพฺโพ, ถวฺ คติยํ. สพฺพตฺถ ปตฺถ รตีติ วา ปถวี. ปปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, รสฺส โว. รูปฯ ๖๖๐ แปลง ปุถ เป็น ปุถุ, ปถ. ที่เป็น ปฐวี เพราะแปลง ถ เป็น ฐ.
  22. ปธวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว แปลง อุ ที่ ปุ เป็น อ แปลง ถ เป็น ธ อี อิต. รูปฯ ๖๖๐.
  23. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  24. ปนฺนรส : (ไตรลิงค์ ) สิบห้า แปลง ปญฺจ เป็น ปนฺน. ดู ปณฺณรส ประกอบ.
  25. ปปิตามห : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, วิ. ปิตามหโต ปโร ปปิตามโห. ปิตุโน ปิตามโห วา ปปิตามโห. ปิตุ + ปิตามห ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ.
  26. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  27. ปพิ : (อิต.) ลิ่ม. ปุ คติยํ, ณิ. แปลง อุ เป็น อว.
  28. ปภงฺคุณ : (วิ.) เปื่อยเน่า, เปื่อยผุ, ผุพัง, ย่อยยับ. ปปุพฺโพ, ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อุโณ. แปลง ชฺ เป็น คฺ แปลง ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ หรือแปลง ญฺ เป็น งฺ ก็ได้.
  29. ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  30. ปมาตุ : (อิต.) มารดาของมารดา, แม่ของแม่, ยาย. มาตุ + มาตุ ลบ ต ศัพท์หน้า รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  31. ปมิติ : (อิต.) การนับ, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ติ. แปลง อา เป็น อิ.
  32. ปมุกฺก : (ปุ.) ความพ้น, ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, โก. แปลง จฺ เป็น กฺ.
  33. ปเมยฺย : (วิ.) นับได้, ประมาณได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  34. ปย : (ปุ.) นม (นมสด), น้ำ, น้ำนม, วิ. ปาตพฺพนฺติ ปโย. ปา ปาเน, โณ. แปลง อา เป็น อิ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย หรือ ตั้ง ปยฺ คติยํ, อ.
  35. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  36. ปยฺยกา ปยฺยิกา : (อิต.) ย่าทวด, ยายทวด, ย่า ชวด, ยายชวด. วิ. มาตุยา อยฺยกา อยฺยิกา วา ปยฺยกา ปยฺยิกา. ลบ ตุ รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  37. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  38. ปยุชฺฌน : (นปุ.) การต่อสู้, การรบ, การต่อสู้ กัน, การรบกัน. ปปุพฺโพ, ยุชฺ สมฺปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ชฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  39. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  40. ปโยท : (ปุ.) เมฆ (ให้น้ำ ). ปย+ท แปลง อ ที่ ย เป็น โอ.
  41. ปรณฺณ : (นปุ.) พืชอื่นจากข้าว ( คือถั่ว ), ถั่ว ( ต่างๆ ). ปร+อนฺน แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  42. ปรทตฺต : (วิ.) ผู้อันบุคคลอื่นให้แล้ว วิ. ปเรหิ ทินฺนํ ปรทตฺตํ. แปลง ทินฺน เป็น ทตฺต.
  43. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  44. ปราค : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
  45. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  46. ปริณต ปรินต : (วิ.) น้อมไปโดยรอบ, แปรไป, เปลี่ยนแปลง, คร่ำคร่า, แก่, แก่จัด, แก่เฒ่า, ปริ+นมฺ+ต ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  47. ปริณายก ปรินายก : (ปุ.) คนผู้นำบริวาร, คนผู้ เป็นหัวหน้าบริวาร, ปริวารปุพฺโพ, นิ นเย, ณฺวุ. คนผู้เป็นหัวหน้า, คนผู้เป็นใหญ่.ปริ ปุพฺโพ, นิ นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  48. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  49. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  50. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1070

(0.0667 sec)