Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 501-550
  1. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  2. พาหุสจฺจ พาหุสฺสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้สดับมาก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสุตะมาก, ความเป็นแห่งพหุสุตบุคคล, ความเป็นพหุสุต, ความเป็นพหูสูต. วิ. พหุสุตสฺส พหุสฺสุตสฺส วา ภาโว พาหุสจฺจํ พาหุสฺสจฺจํ วา, พหุสุต, พหุสฺสุต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  3. พิมฺพ : (ปุ.) รูป, รูปเปรียบ, แบบ, พรรณะ. วมุ อุคฺครเณ, โพ. แปลง ว เป็น พ แปลง อ เป็น อิ.
  4. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  5. พิลาล : (ปุ.) แมว วิ. มูสิกาทิปาทเนน พลตีติ พิลาโล. พลฺ ปาณเน, อโร. แปลง ร เป็น ล หรือ ตั้ง พิลฺ เภทเน. ก็ได้.
  6. พิฬาร พิฬาล : (ปุ.) เสือปลา, แมว. พลฺ พิลฺ ธาตุ แปลง ลฺ เป็น ฬฺ. ดู พิลาล.
  7. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  8. พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
  9. พุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้, ความรู้ตลอด, ความเข้าใจ. พุธฺ โพธเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  10. พุฑฺฒ : (วิ.) แก่, เฒ่า (ผู้สูงอายุ) วฑฺฒฺ วฑฺฒฺเน, อ. อภิฯ ลง ต ปัจ. แปลงเป็น ฒ แปลงที่สุดธาตุ เป็น ฑ ลบ ฑฺ สังโยค แปลง ว เป็น พ อ เป็น อุ.
  11. พุทฺธ : (วิ.) ผู้รู้, ผู้ตรัสรู้. พุธฺ โพธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  12. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  13. พุทฺธี : (อิต.) หญิงแก่, หญิงเฒ่า. วทฺธ วทฺธเน, อ, อตฺถิยํ อี. แปลง ว เป็น วุ แปลง วุ เป็น พุ.
  14. โพชฺฌ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ. พุธฺ โพธเน, โณ, ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ พฤทธิ อุ เป็น โอ ด้วยอำนาจ ณ ปัจ.
  15. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  16. ภกมฺปิ : (นปุ.?) หวั่นไหว. ปปุพฺโพ, กปิ จลเน, อิ. แปลง ป เป็น ภ.
  17. ภคฺค : (ปุ.) ภัคคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๑ ของอินเดียโบราณ, ภญฺช อวมทฺทเน, อ. แปลง ญฺช เป็น คฺค.
  18. ภคณฺฑล ภคนฺทล : (นปุ.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
  19. ภคณฺฑลา ภคนฺทลา : (อิต.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
  20. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  21. ภงฺค : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ภังคะ, ภางค์. วิ. สยเมว ภิชฺชตีติ ภงฺโค. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ. จันทร์กะพ้อ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกขาวคล้ายดอกพะยอมหอมคล้ายดอกจันทน์?.
  22. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  23. ภณน : (นปุ.) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
  24. ภณ ภน : (ปุ.?) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
  25. ภตก : (ปุ.) ชนผู้บริโภคซึ่งค่าจ้าง, ลูกจ้าง, คนรับใช้ คนใช้. วิ. ภตึ ภุญฺชตีติ ภตโก. ภติ ก ปัจ. แปลง อิ เป็น อ อภิฯ.
  26. ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
  27. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  28. ภทฺร : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ภทฺท แปลง ท เป็น ทฺร ลบ ทฺ สังโยค อภิฯ หน้า ๒๘๔.
  29. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  30. ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
  31. ภยทสฺสาวี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ วิ. ภยํ ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสาวี. ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี. ภย+ทิสฺ ธาตุ อาวี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
  32. ภสฺสร : (วิ.) แจ่มใส, ผ่องใส, ผุดผ่อง, รุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, สโร. รัสสะ อา เป็น อ แปลง ส เป็น สฺส.
  33. ภาตพฺย : (ปุ.) ลูกของพี่ชาย วิ. ภาตุโน ปุตฺโต ภาตโพฺยฺ. ณฺย ปัจ. โคตตตัท. แปลง อุ ที่ ตุ เป็น อว ว เป็น พ ลบ อ ที่ ว ด้วย อำนาจ ณฺ ลบ ณฺ รูปฯ ๓๕๕.
  34. ภิงฺก : (ปุ.) ช้างรุ่น วิ. มาตาปิตูหิ ภริตพฺพตฺตา ภิงฺโก. ภรฺ โปสเน, อ. แปลง ภร เป็น ภิงฺก. แปลว่า กบ เขียด ก็มี.
  35. ภิงฺการ ภิงฺคาร : (ปุ.) คนทีน้ำ, คนโทน้ำ, เต้า (หม้อน้ำ), น้ำเต้า, เต้าน้ำ, เต้าน้ำทอง, หม้อน้ำ, ภาชนะทอง. วิ. ภรติ อุทกมิติ ภิงฺการโร. ภรฺ ภรเณ ธารเณ จ, อาโร. แปลง ภรฺ เป็น ภึก.
  36. ภิชฺชน : (นปุ.) อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย, การแตก, ฯลฯ. ภิทิ เภทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหวดธาตุ ลบ อิ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  37. ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  38. ภิสก ภิสกฺก ภิสช : (ปุ.) แพทย์, อายุรแพทย์, หมอ. วิปฺพฺโพ, สชฺ วิสชฺชะน, อ. แปลง วิ เป็น ภิ ศัพท์ ที่ ๑ แปลง ช เป็น ก ที่ ๒ แปลง ก เป็น กฺก แปลว่า ศัลยแพทย์ ก็มี.
  39. ภึส ภึสร : (นปุ.) ราก, เหง้า, รากบัว, เหง้าบัว. วิสฺ เปรเณ, อ, อโร, นิคฺคหิตาคโม. แปลง วิ เป็น ภิ.
  40. ภุจฺจ : (นปุ.) ความเป็นจริง. ภูต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ แปลง ตยฺ เป็น จฺจ.
  41. ภุชิสฺส : (ปุ.) ความเป็นอิสระ, ความเป็นไทย. ภุชฺ ปาล-เน, อิโส. แปลง ส เป็น สฺส.
  42. ภุวน : (นปุ.) โลก, ฯลฯ, ฐานะ. ภู สติตายํ, ยุ. แปลง อู เป็น อุว ยุ เป็น อน รูปฯ ๖๓๕. เป็น ภูวน ก็มี.
  43. ภูติณ ภูติณก ภูตินก : (นปุ.) ตะไคร้ วิ. ภูมิยํ ลคฺคํ ติณํ ภูติณกํ วา ภูตินกํ วา. สองศัพท์หลัง ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ณ เป็น น.
  44. เภณฺฑิ : (อิต.) ฉมวก ชื่อเครื่องมือสำหรับแทงปลาเป็นต้น ทำเป็น ๓ ง่ามบ้าง ๕ ง่ามบ้าง ปลายง่ามแหลมและมีเงี่ยงเหมือนเบ็ดมีด้ามยาว. ภิทิ วิทารเณ, อิ. แปลง ท เป็น ฑ นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ แปลง อิ ที่ ภิ เป็น เอ.
  45. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  46. มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
  47. มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
  48. มชฺช : (วิ.) อัน...พึงเมา วิ. มชฺฌิตพฺพนฺติ มชฺชํ. มทฺ อุมฺมาเท, โณฺย. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  49. มชฺชน : (นปุ.) ความเมา, ฯลฯ. วิ. มทนํ มชฺชนํ. มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  50. มชฺชวิกฺกยี : (ปุ.) คนขายเหล้า. มชฺช+วิ+กี ธาตุในความแลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์ ณี ปัจ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย ซ้อน กฺ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1070

(0.0740 sec)