Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 751-800
  1. อฑฺฒ : (วิ.) มั่งคั่ง, มั่งมี, มีทรัพย์, ร่ำรวย, รุ่มรวย.วิ.อชฺฌายติธนนฺติอฑฺโฒ.เฌจินฺตายํ, อ. แปลง เอ เป็น อแปลงฌฺเป็น ชฺฌแปลงชฺฌ เป็นฑฺฒ. ส.อาฒฺย.
  2. อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺยรูป ฯ ๓๙๕.โมค ฯสมาสกัณฑ์๑๐๕แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  3. อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย รูป ฯ ๓๙๕. โมค ฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๕ แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  4. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  5. อณฺฑูปก : (นปุ.) เครื่องรองภาชนะ, เครื่องรองของที่เทินบนศรีษะ (ส่วนมากทำด้วยผ้าเป็นวงกลม), เสวียนผ้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ).วิ.อนฺตํ สมีปํ อุปคจฺฉติอาเธยฺยสฺสาติ อณฺฑูปกํ. แปลง นฺตเป็นณฺฑแปลงคเป็นก.
  6. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  7. อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
  8. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  9. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  10. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  11. อตฺถิ : (อัพ. นิบาต) มี, มีอยู่. ใช้เป็นประธานบ้าง.อตฺถิที่เป็นกิริยาอาขยาต เป็นอสฺ ธาตุออัจ. ติวิภัติ แปลง ติ เป็น ตฺถิลบ ที่สุดธาตุเป็นได้ทั้งสองวจนะ.
  12. อติถิ : (ปุ.) คนผู้มาสู่เรือน, แขก (คนผู้มาหา)อตฺสาตจฺจคมเน, ถิ, ออาคโม, อสฺสิ.(แปลง อ เป็น อิ).อิถิ วา (หรือ ลงอิถิปัจ.)ส.อติถิ.
  13. อโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั่น, เอต+โตปัจ. แปลง เอต เป็น อแต่...นี้, แต่นี้.อิม+โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อเพราะเหตุนั้นก็แปล.
  14. อธมณฺณ : (ปุ.) ลูกหนี้.วิ.อิเณอธโมอธมณฺ-โณ.เอา อิ ที่ อิณ เป็น อ ได้รูปเป็นอณ แปลง ณ เป็นณฺณ.แล้วเปลี่ยนบทหน้าไว้หลัง.ส.อธรฺมณ
  15. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  16. อนฺวฑฺฒมาส อนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือน โดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์. วิ. อนุปุ- พฺเพน อฑฺฒมาสํ อทฺธมาสํ วา อนฺวฑฺฒมา สํ อนฺวทฺธมาสํ วา. ลบ ปุพฺพ แปลง อุ ที่ นุ เป็น อ.
  17. อนุสิฏฺฐิ : (อิต.) การสั่งสอน, การพร่ำสอน.อนุ+สาสฺ+ติ ปัจ.แปลง ติเป็น ฎฺฐิลบสฺแปลงอาเป็นอิ.
  18. อปฺเปว อปฺเปว นาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อย่างไรเสีย, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อ แม้ไฉน. อปิ+เอว แปลง อิ เป็น ย แปลง ย เป็น ป.
  19. อปมาร อปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู. วิ. อปคโต สาโร เยน โส อปมาโร อปสฺมา- โร วา. ศัพท์แรก แปลง ส เป็น ม ศัพท์ หลังลง มฺ อาคม ท่ามกลาง.
  20. อภิสขร อภิสงฺขร : (ปุ.) การบันดาล. อภิ สํ บทหน้า กรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง กรฺ เป็น ขรฺ รูปฯ ๕๖๖.
  21. อภิสงฺค อภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำ แช่ง, คำด่า. อภิปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น งฺ คำหลังซ้อน สฺ.
  22. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  23. อสฺสว : (วิ.) ผู้ว่าง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้เชื่อฟัง, วิ.อาเทสิตํอาทเรเนวสุณาตีติอสฺสโว.อาบทหน้าสุธาตุอ หรือณปัจ. พฤทธิอุ เป็น โอ แปลง โอ เป็นอว รัสสะอาเป็นอซ้อนสฺ.
  24. อสีติ : (อิต.) แปดสิบ. แปลง อฏฺฐกคือทส๘ครั้ง เป็นอสลง โย วิภัติแปลงโยเป็นอีติรูปฯ ๓๙๗.แปลง ทสที่บอกอรรถว่าสิบ ๘ ครั้ง เป็น อสแปลง โยเป็นอีติ รูปฯ ๓๙๘.ทส ที่แปลว่า สิบ ๒ ครั้ง ๓ ครั้ง ฯลฯ๙ ครั้งเป็นเอกเสสสมาส.
  25. อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
  26. อาวชฺชนา : (อิต.) ความคำนึง, ความคิด, ความนึก. อาปุพฺโพ, วชฺ สงฺขาเร, ยุ. ลง ณฺย ปัจ. ประจำธาตุ ลบ ณฺ แปลง ชฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  27. อาวิล : (วิ.) ขุ่น, มัว, เศร้าหมอง, แตก, ทำลาย. อาปุพฺโพ, พิลฺ เภทเน, อ. แปลง พ เป็น ว. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. อาวิล.
  28. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  29. อาสภ : (วิ.) นี้ของมนุษย์ผู้ประเสริฐ, นี้ของโค อุสภะ. วิ. อุสภสฺส อิทํ อาสภํ. อุสภสฺส อยํ อาสโภ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง อุ เป็น อา.
  30. อาสา : (อิต.) ชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาสา วุจฺจติ ตณฺหา. ไตร ๒๙/๑๑๘. ความหวัง, ความปรารถนา. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็นอา). ส. อาศา
  31. อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
  32. อาหารช : (วิ.) เกิดแต่อาหาร วิ. อาหารสฺมา ชาโตติ อาหารโช. กฺวิ ปัจ. ใน อรรถชาต. อาหารสฺมา ชาโต อาหารโช. ปัญจมีตัป. แปลง ชาต เป็น ช.
  33. อาหินฺทน : (นปุ.) การเที่ยวไป. อาปุพฺโพ, หิฑิ คติยํ, ยุ. แปลง ฑ เป็น ท, นิคคหิต อาคม.
  34. อาฬินฺท : (ปุ.) ดู อาลินฺท. แปลง ล เป็น ฬ.
  35. อิกฺกฏ : (ปุ.) หญ้าปล้อง, อิจฺ สุติยํ, อโฏ. แปลง จ เป็น ก ซ้อน กฺ
  36. อิงฺคุที : (อิต.) ไม้สำโรง. อิงฺคฺ คติยํ, อิโท, อิสฺสุ (แปลง อิ เป็น อุ). ไม้จำปา ก็แปล
  37. อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
  38. อิช : (ปุ.) การบูชา, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การบูชาเทพ, คนผู้บูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ยสฺสิ (แปลง ย เป็น อิ).
  39. อิชฺชา : (อิต.) การบูชา, ฯลฯ, การชุมนุม. ยชฺ ธาตุ ณฺย ปัจ. แปลง ย เป็น อิ แปลง ชฺย เป็น ชฺช อา อิต.
  40. อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
  41. อิณ : (นปุ.) เงินค้าง, การให้ยืม, หนี้. วิ. เอติ วุฑฺฒึ คจฺฉตีติ อิณํ. อิ คติยํ, ยุ, นสฺส ณตฺตํ. (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ) อถวา, อิณุ คติยํ, อ. ส. ฤณ.
  42. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  43. อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  44. อิทสจฺจาภินิเวส : (ปุ.) ความยึดมั่นว่าสิ่งนี้มีจริง. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่ออยู่หน้าบทสมาส.
  45. อิทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, ในคราวนี้, คราวนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้. อิม ศัพท์ ทานิ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ ใช้เป็นประธานบ้าง อุ. ภนฺเต อิทานิ ฯลฯ. ขุ.ธ.
  46. อิทิ : (วิ.) มีปกติบูชา วิ. ยชสีโล อิทิ. ลบ สึล แปลง ย เป็น อิ ช เป็น ท อิ ปัจ.
  47. อิธ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้, ในบัดนี้, ในที่นี้. วิ. อิมสฺมึ ฐาเน  อิธ. อิม ศัพท์ ธ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  48. อินฺทน : (นปุ.) ฟืน. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อิ แปลง ธ เป็น ท. นิคคหิตอาคม. อินฺทน
  49. อินฺธน : (นปุ.) การจุดไฟ, เชื้อ, เชื้อไฟ, ไม้ สำหรับติดไฟ, ฟืน. วิ. เอธยเตติ อินฺธนํ. เอธฺ วุทฺธิยํ, ยุ, เอสฺส อิ (แปลง เอ เป็น อิ), พินฺทฺวาคโม (นิคคหิต อาคม). ส. อินธน.
  50. อิลฺลล : (ปุ.) นก. อิลฺ กมฺปนคตีสุ, โล. แปลง ลฺ เป็น ลฺล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1070

(0.0868 sec)