Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 851-900
  1. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็น ฬ เป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  2. อูมิ : (ปุ. อิต.) คลื่น, ระลอก. วิ. อูเหนฺติ เอเตนาติ อูมิ. อูหฺ วิตกฺเก, มิ, หฺโลโป. อรฺ คมเน วา, มิ, อสฺสุ, ทีโฆ (แปลง อ เป็น อุ แล้ว ทีฆะ), รฺโลโป. ส. อูรฺมฺมิ, อูรฺมิ.
  3. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  4. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาฬีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  5. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  6. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  7. เอตฺถ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. เอต แปลงมาจาก อิม ถ ปัจ ลบ อ ที่ ต อภิฯ. หรือลง ตฺถ ปัจ. แปลง เอต เป็น เอ.
  8. เอตทคฺค : (วิ.) ผู้ยอดในทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมใน ทางหนึ่ง, ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, ผู้เลิศ ในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, เอตทัคคะ. เอก+อคฺค แปลง ก เป็น ต ทฺ อาคม.
  9. เอตรหิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้, ไม่นาน, เมื่อกี้. วิ. เอตสฺมึ กาเล เอตรหิ. อิม ศัพท์ รหิ ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต กัจฯ ๒๓๖ รูปฯ ๒๘๐.
  10. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  11. เอตาวนฺต เอตฺตาวนฺต : (วิ.) มีปริมาณเท่านี้, มีประมาณเท่านี้. อิม+วนฺต ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต ทีฆะ ที่สุดศัพท์ ซ้อน ตฺ. มีปริมาณเท่านั้น, มีประมาณเท่านั้น. เอต+วนฺต ปัจ. เป็น เอตฺตาวนฺตุ โดยลง วนฺตุ ปัจ. บ้าง. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๓ ลง อาวนฺตุ ปัจ. แปลง อุ เป็น อ.
  12. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  13. เอโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั้น. เอต+โต ปัจ แปลง เอต เป็น เอ. ข้างโน้น. อมุ+โต แปลง อมุ เป็น เอ.
  14. โอกา : (อิต.) เหา, เล็น. อูกา แปลง อู เป็น โอ.
  15. โองฺการ : (ปุ.) คำเปล่ง, โองการ (คำศักดิ์ สิทธิ์). อุจฺ สทฺเท, อาโร. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ นิคคหิตอาคม แปลง จฺ เป็น ก ทาง พราหมณ์ (ฮินดู) หมายเอกพระเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ.
  16. โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
  17. โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  18. โอทน : (ปุ. นปุ.) ข้าว, ข้าวสุก, ข้าวสวย, กระยาหาร. วิ. อุทฺทียตีติ โอทโน. อุทิ ปสวนกิเลทเนสุ, ยุ, อุทิสฺส โอโท (แปลง อุทิ เป็น โอท.
  19. โอทหน : (นปุ.) การตั้งลง, การหยั่งลง. โอปุพฺโพ. ทหฺธารเณ, ยุ. อถวา, ธาธารเณ. แปลง ธา เป็น ทห.
  20. โอปาร : (นปุ.) ฝั่งนี้. อิม+ปาร แปลง อิม เป็น อุ แปลง อุ เป็น โอ. ฝั่งโน้น. อมุ+ปาร ลบ มุ แปลง อ เป็น โอ.
  21. โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
  22. โอหาวิม : (วิ.) เกิดด้วยการบูชา วิ. อวหเนน นพฺพตฺตํ โอหาวิมํ. อวปุพฺโพ, หุ หวฺย- ปทาเน, ณิโม. แปลง อว เป็น โอ แปลง อุ ที่ หุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว รูปฯ ๖๔๕.
  23. โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
  24. โอฬิคลฺล : (ปุ.) ดู โอลิคลฺล วิ. อวลคฺคนฺติ ยสฺมึ โส โอฬิคลฺโล, อวปุพฺโพ, ลคฺค สงฺเค, อโล, ฬตฺตํ, อสฺสิ, คฺโลโป, ทฺวิตฺตํ(แปลง ล เป็น ลล).
  25. ชิร ชีร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, แก่คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, ยุ่ย, ย่อย. ชรฺ ธาตุ อ ปัจ.แปลง อ ที่ ช เป็น อี ศัพท์ต้นรัสสะ หรือตั้ง ชีรฺ พฺรูหเณ, อ.
  26. โธรยฺห : (วิ.) ควรเพื่ออันนำไปซึ่งธุระ วิ, ธุรํ วหิตุ มรหตีติ โธโยฺห. ณ ปัจ, ราคาทิตัท.แปลง ว เป็น ย หรือลง ยฺห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒ ลง ยฺหณฺ ปัจ. ผู้นำไปซึ่ง ธุระ วิ. ธุรํ วหตีติ โธรโยห.
  27. มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
  28. สากจฺฉา : (อิต.) การเจรจา, การเจรจากัน, การเจรจากับ, การกล่าวกับ, การสนทนา, การสนทนากัน, การสังสนทนา. วิ. สห สมฺมา วา อวิโรเธน กถา สากจฺฉา(สนทนาโดยชอบโดยไม่ขัดคอกันเลย. สห+กถา+ต ปัจ.แปลง สห เป็น สา ถ เป็น จ ต เป็น ฉ อาอิต. สํปุพฺโพ วา, กถฺ วจเน, โ ณฺย, สํสทฺทสฺส สา, ถฺยสฺส จฺโฉ, อิตฺถิยํ อา.
  29. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  30. อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
  31. อาตงฺค : (นปุ.) ความกลัว, ความหวาด, ความสะดุ้ง.อาปุพฺโพ, ตสฺอุตฺราเส, อ.แปลง สเป็นคนิคคหิตอาคม.
  32. โทณิ : (อิต.) ร่าง, ร่างพิณ.
  33. กณิการ กณฺณิการ : (ปุ.) กรรณิการ์, กัณณิ การ์. วิ. อคนฺธปุปฺผตาย อตฺตานํ กณิฏฺฐํ  กโรตีติ กณิกาโร กณฺณิกาโร วา. กณิฏฺฐปุพฺโพ กรฺ กรเณ, โณ, ฏฺฐโลโป. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น ณฺณ.
  34. กพนฺธ : (ปุ.) ร่างอันไร้ศรีษะ, ผีหัวขาด.
  35. กมฺมญฺญ : (นปุ.) ความควรในการงาน, ความดีในการงาน, วิ. กมฺมนิ สาธุ กมฺมญฺญํ. ณฺยปัจ. ลบ อิ ที่ นิ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลงเป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง ญ เป็น ญฺญ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. ส. กรฺมฺมณฺย.
  36. กวนฺธ : ป., นป. ร่างที่ไม่มีหัว, ผีหัวขาด
  37. กวนฺธ กพนฺธ : (ปุ.) ร่างไม่มีศรีษะ, ผีไม่มี ศรีษะ, ผีหัวขาด. วิ. อวิชฺชมาเนน เกน สิรสา อนฺโธ กวนฺโธ. ก+อนฺธ วฺ อาคม ในท่ามกลาง.
  38. กิลาสุ : (วิ.) เกียจคร้าน. กุจฺฉิตปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, ณุ, ลบ จฺฉิต แล้วแปลง อุ ที่ กุ เป็น อิ.
  39. กิส, กิสก : ค. ผอม, บาง, ร่างน้อย
  40. กุฏฺฐ : (นปุ.) โกฐ ชื่อเครื่องยาจำพวกหนึ่งมี หลายชนิด วิ. กุยํ ปฐวิยํ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐํ. กุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ. กุฏฺ เฉทเน วา, โฐ, โต วา. ถ้าลง ต ปัจ. ก็แปลง ต เป็น ฐ.
  41. กุณฺฑ : (ปุ.) เหี้ย, จะกวด (สัตว์เลื้อยคลานรูป ร่างคล้ายจิ้งจก ตะกวด ก็เรียก), ไฟ, เตาไฟ, หลุมไฟ. กุณฺฑ ฑาเห, อ.
  42. กุณป กุนป : (ปุ. นปุ.) ศพ, ซากศพ. กุณฺ สงฺโกจเน, โป, ออาคโม. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. ส. กุณป.
  43. กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
  44. กุลฺลกสณฺฐาน : ค. มีสัณฐานดังพ่วงแพรูปร่างเหมือนแพ
  45. กุลาปี : (ปุ.) นกยูง. กลาปีศัพท์แปลง อ ที่ ก เป็น อุ.
  46. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  47. เกฏุ : (ปุ.) ธง. เกตุ ศัพท์แปลง ตุ เป็น ฏ.
  48. โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
  49. ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
  50. คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1070

(0.0827 sec)