Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แปลงร่าง, แปลง, ร่าง , then ปลง, ปลงราง, แปลง, แปฺลง, แปลงร่าง, ราง, ร่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แปลงร่าง, 1070 found, display 951-1000
  1. ปนฺถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ทางเปลี่ยว, ถนน. วิ. ปถยนฺติ ยนฺตฺยเนนาติ ปนฺโถ. ปถิ คติยํ, ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น นฺ อภิฯ และฎีกาฯ ลง นฺ อาคมกลางธาตุ.
  2. ปปุตฺต : (ปุ.) หลาน ( ลูกของลูกชายหรือลูก ของลูกสาว ) , หลานชาย. วิ. ปุตฺตสฺส ปุตฺโต ปปุตฺโต. ลบ ตฺต ของศัพท์หน้า และแปลง อุ เป็น อ.
  3. ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  4. ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  5. ปริทฺทว ปริเทว : (ปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  6. ปริเทวน : (นปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  7. ปริเทวนา : (อิต.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  8. ปาฏิรูปิก : ค. ซึ่งปลอมแปลง, ซึ่งเทียม, ซึ่งไม่แท้, ซึ่งหลอกลวง
  9. ปาสุก, ปาสุฬ : ป. ซี่โครง, โครงร่าง
  10. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  11. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  12. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  13. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  14. ผคฺคุน : (ปุ.) เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม, อภิฯ วิ. ผคฺคุนิยา ปริปุณฺเณนฺทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโสผคฺคุโน. บท ปริปุณฺเณฯ ตัดบทเป็น ปริปุณฺณ+อินทฺ+ยุตฺต. รูปฯ ๓๖๒ วิ. ผคฺคุนิยา ยุตฺโต มาโส ผคฺคโน. เป็น ผคฺคุณ เพราะแปลง น เป็น ณ บ้าง.
  15. ผรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. วิ. ปเร ชเน อุสาเปตีติ ผรสุ. ปรปุพฺโพ, สสุหึสายํ, อุ, ปสฺส โผ, สโลโป จ. หรือตั้ง สุธาตุในความเบียดเบียน. เป็น ปรสุ โดยไม่แปลง ป เป็น ผ บ้าง. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  16. พฺยนฺตีกรณ : (นปุ.) การทำให้สิ้นสุด. พฺยนฺต+กรณ อี อาคม หรือแปลง อ ที่ ต เป็น อี.
  17. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  18. พฺรหฺมญฺญ : (วิ.) เกื้อกูลแก่พรหม วิ. พฺรหฺมสฺสหิตํ พฺรหมญฺญ. ณฺย ปัจ. แปลงเป็น ญฺญ.
  19. โภต โภตี : (วิ.) ผู้เจริญ. ภู สตฺตายํ. อนฺต ปัจ. เป็น ภวนฺต แปลงเป็น โภต ศัพท์หลังลง อี อิต.
  20. มกจิ : (นปุ.) ปอ. กจฺ พนฺธเน, อิ. เท๎วภาวะ ก แปลงเป็น ม.
  21. มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
  22. มจฺจุ : (ปุ.) ความตาย วิ. มรณํ มจฺจุ. จุ ปัจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือลง ตฺยุ ปัจ. แปลงเป็น จุ ซ้อน จฺ หรือแปลง ตฺยุ เป็น จฺจุ อภิฯ รูปฯ ๖๔๔.
  23. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  24. มาติก : (วิ.) มาข้างมารดา วิ. มาติโต อาคตํ มาติกํ (นามํ). ณิก ปัจ. มาตุ+โต ปัจ. ให้แปลง อุ เป็น อิ.
  25. มุขวณฺณ : ป. รูปร่างหน้าตา
  26. มุจลินฺท มุจฺจลินฺท : (ปุ.) ต้นจิก, ไม้จิก. จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อินฺโท. เท๎วภาวะ จุ แปลงเป็น มุ ศัพท์หลังซ้อน จฺ หรือตั้ง มุจลฺ สงฺฆาเต.
  27. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  28. รชฺชุ : (อิต.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  29. รชฺชุก : (ปุ.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  30. รชนี รชฺชนี : (อิต.) ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), เวลาค่ำ, เวลามืด, กลางคืน, ค่ำคืน, รัชนี. วิ. รญฺชนฺติ ราคิโน อตฺราติ รชนี. ยุ, อิตฺถยํ อี. ศัพท์หลังแปลง ช เป็น ชฺช.
  31. สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
  32. สฺวาณ สฺวาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. สุนศัพท์แปลง อุน เป็น วาน รูปฯ ๖๔๗.
  33. สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
  34. สุชมฺปติ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นพระสวามีของนางสุชา, ท้าวสุชัมบดี ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สุชาย อสุรกญฺญาย ปติ สุชมฺปติ. รัสสะ อา ที่ ชา ลงนิคคหิตอาคม แปลงเป็น มฺ.
  35. สุรูปตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีรูปดี, ความเป็นผู้มีรูปได้สัดส่วน, ความเป็นผู้มีรูปร่างสมส่วน.
  36. สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
  37. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  38. โสน : (ปุ.) สุนัข, หมา. โสณ ศัพท์แปลง ณ เป็น น.
  39. หณน หนน : (นปุ.) การกำจัด, ฯลฯ, การกระทบ, ความกำจัด, ความเบียดเบียน. หนฺ หึสายํ, ยุ. ศัพท์ต้นแปลงที่สุดธาตุเป็น ณ. ส. หนน.
  40. หตฺถิกลก หตฺถิกุลภ : (ปุ.) ช้างสะเทิน (สะเทิน คือรุ่น), ช้างรุ่น. หตฺถี+กลภ ศัพท์หลังแปลง อ เป็น อุ.
  41. หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
  42. อคฺคิ อคฺคินิ : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, อคนิ, อัคนิ, อัคนี. อคฺค กุฏิลคติยํ, อิ. อคฺคิ เติมนิ เป็น อคฺคินิ คงจะเลียนสันสกฤต, กัจฯ๙๕ และรูปฯ ๑๔๕ ว่า อคฺคิ ลง สิ วิภัติแปลง อิ ที่ คิ เป็น อินิ ลบ. สิ. เป็น อกินีก็มี. ส. อคฺนิ, อทฺมนิ.
  43. อชฺเฌน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเรียน, การเล่าเรียน, การท่อง, การสวด, การศึกษา.อธิ+อ+ยุแปลงอธิเป็นอชฺฌอิเป็นเอยุเป็นอน.
  44. อชฺเฌยฺย : (วิ.) ฟังสวด, ฯลฯ.อธิปุพฺโพ, อิ อชฺฌายเน, โณฺย. แปลงอธิเป็น อชฺฌอิ เป็น เอย เป็น ยฺย.
  45. อชฺโฌคาฬฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลฬเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น ฬรูป ฯ ๖๐๕หรือลง ฬปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฬฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
  46. อญฺชส : (วิ.) ตรง, ตรงไป, ตรงออกไป.เหยียดตรง, ซื่อตรง.อุชุอชฺชเว, อ.แปลงอุ เป็น อแปลงอุที่ชุเป็นอสลง นิคคหิตอาคมตันธาตุแล้วแปลงเป็นญฺ. ส. อญฺชส
  47. อญฺโญญ : (วิ.) กันและกัน.อญฺญ+อญฺญลบ อที่สุดของศัพท์หน้าแปลง อเบื้องต้นของศัพท์หลังเป็นโอ.
  48. อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูก เป็น อิต. ก็มี.
  49. อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูกเป็นอิต.ก็มี.
  50. อฏฺฐิสงฺขลิกา : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1070

(0.0905 sec)