Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทองคำบริสุทธิ์, บริสุทธิ์, ทองคำ , then ทองคำ, ทองคำบรสทธ, ทองคำบริสุทธิ์, บริสุทธิ์, ปริสุทฺธิ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทองคำบริสุทธิ์, 110 found, display 51-100
  1. กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
  2. กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
  3. กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
  4. กุปฺป : (นปุ.) มูลแร่ (นอกจากทองคำและเงิน). คุปฺ รกฺนขเณ, อ, ทฺวิตฺติ.
  5. คหณิก : ค. ผู้บริสุทธิ์มาแต่กำเนิด; ผู้มีไฟธาตุย่อย
  6. คามปูฏว : (ปุ.) ชาวบ้านผู้มีการทำให้บริสุทธิ์, ชาวบ้านผู้มีการชำระผิว, ชาวบ้านผู้ชอบ แต่งผิว. คาม+ปูฏว.
  7. : (วิ.) บริสุทธิ์, สะอาด. อุ. จํ สีลํ สุทฺธสตฺตานํ. ศีลบริสุทธิ์แก่สัตว์ผู้บริสุทธิ์ ท.
  8. จตุปาริสุทฺธิสีล : (นปุ.) ศีลอันภิกษุพึงให้เต็ม ด้วยเป็นศีลยังผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มี องค์สี่, ศีลยังภิกษุผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มีองค์สี่ ( มีสี่ข้อ ).
  9. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  10. ชญฺญ : ค. บริสุทธิ์, งาม, เลิศ, ประเสริฐ, มีสกุล, ผู้รู้
  11. ชาติสุวณฺณ : นป. ทองคำธรรมชาติ, ทองเนื้อดี, ทองแท้
  12. ชาติสุวรณฺณ : (นปุ.) ทองเกิดโดยกำเนิด, ทอง แต่กำเนิด, ทองธรรมชาติ, ทองคำธรรม ชาติ.
  13. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  14. ทกฺขิณาวิสุทฺธิ : อิต. ความหมดจดแห่งทักษิณา, ความบริสุทธิ์แห่งไทยธรรมที่นำมาถวาย
  15. ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ : อิต. ทิฏฐิวิสุทธิ, ความหมดจดแห่งทิฐิ, ความเห็นบริสุทธิ์, ความเห็นถูกต้อง
  16. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  17. นิณฺหาต : ค. ซึ่งสะอาด, อันบริสุทธิ์
  18. นิปาว นิปฺปาว : (ปุ.) การฝัด, การชำระ, การทำให้บริสุทธิ์. นิปุพฺโพ, ปุ ปวเน, โณ.
  19. นิพฺพาเปติ : ก. ทำให้เย็น, ทำให้ดับ, ทำให้บริสุทธิ์
  20. ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
  21. ปริโยทปนา : อิต. ความผ่องแผ้ว, ความบริสุทธิ์
  22. ปริโสธน : นป. ความบริสุทธิ์, การชำระล้าง
  23. ปริโสเธติ : ก. บริสุทธิ์, ชำระ
  24. ปว : ป. การฝัด (แกลบเป็นต้น), การทำให้บริสุทธิ์สะอาด, การชำระ
  25. ปสนฺนตา : อิต. ความเป็นของผ่องใส, ความบริสุทธิ์
  26. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  27. ปสีทน : นป., ปสีทนา อิต. ความเลื่อมใส, ความศรัทธา, ความยินดี, ความสะอาดความบริสุทธิ์
  28. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  29. ปาริสุทฺธิสีล : นป. ศีลอันบริสุทธิ์, ความเป็นอยู่อย่างบริสุทธิ์
  30. ปุณติ, ปุณาติ : ก. บริสุทธิ์, สะอาด, ผ่องแผ้ว
  31. โปน : (นปุ.) อันชำระ, อันทำให้บริสุทธิ์, การชำระ, การทำให้บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, ยุ. แปลง อุ เป็น โอ.
  32. พฺรหฺมจาริณี พรหฺมจารี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติประเสริฐ, หญิงผู้ประพฤติเหมือนพรหม, หญิงพรหมจารี. พรหมจาริณี พรหมจารี ไทยใช้หมายถึงหญิงที่ยังบริสุทธิ์เรื่องเพศ.
  33. มลภาว : (ปุ.) ความไม่บริสุทธิ์.
  34. มลวิส : (นปุ.) พิษอันเกิดจากความมัวหมอง, พิษอันเกิดจากอากาศไม่บริสุทธิ์.
  35. มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  36. มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
  37. โวทาน : นป. ความบริสุทธิ์, ความผ่องแผ้ว
  38. สชฺฌน : (นปุ.) ความสะอาด, ความหมดจด, ความบริสุทธิ์, ความผุดผ่อง. สุธฺ โสเจยฺเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  39. สตี : อิต. หญิงผู้ซื่อสัตย์ต่อสามี, หญิงผู้บริสุทธิ์
  40. สมล : ค. มีมลทิน, ไม่บริสุทธิ์
  41. สสุทฺธ : ค. บริสุทธิ์พร้อม
  42. สสุทฺธคหณิก : ค. สืบสายตระกูลอันบริสุทธิ์
  43. สุชฺฌติ : ก. บริสุทธิ์, หมดจด
  44. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  45. สุวณฺณปฎ : (ปุ. นปุ.) แผ่นสำเร็จแล้วด้วยทอง, แผ่นแห่งทอง, แผ่นทอง, สุพรรณบัฎ. สุพรรณบัฎ ไทยใช้เรียกแผ่นทองคำที่จารึกราชทินนามชั้นสูงหรือจารึกพระราชสาสน์. ส. สุวรฺณปฎ.
  46. โสธน : (วิ.) ชำระ, ทำให้บริสุทธิ์, ล้าง, สะอาด, หมดจด.
  47. อนิกฺกสาว : ค. ไม่ปราศจากกิเลสดุจน้ำฝาด, ไม่บริสุทธิ์
  48. อพฺภาน : (นปุ.) การเรียกเข้า, การชักกลับมา, การรับรอง, ความรับรอง, อัพภาน.การสวดเมื่อภิกษุต้องอาบัติสังฆาทิเสสซึ่งได้ประพฤติมานัสครบ๖ราตรีหรือประพฤติมานัสและอยู่ปริวาสแล้วเพื่อให้กลับเป็นผู้บริสุทธิ์เรียกว่าสวดอัพภาน.
  49. อพฺเภติ : ก. อัพภาน, เรียกกลับมา, เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติอยู่ปริวาสแล้วให้กลับเข้ามาเป็นผู้มีความบริสุทธิ์
  50. อวิสุทฺธ : ค. ไม่บริสุทธิ์, ไม่สะอาด
  51. 1-50 | [51-100] | 101-110

(0.0469 sec)