Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ต่าง , then ตาง, ต่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ต่าง, 112 found, display 101-112
  1. อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
  2. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  3. อิตร : (วิ.) อื่น, นอกนี้, ประการนี้, ต่างหาก, ต่ำ, สั้น. อิตรสทฺโท ปาฏิปทิโก. อญฺญตฺถ - วาจโก. อิทํสทฺทา วา ตโร, อญฺญทตฺโถ, ทํโลโป จ. ที่แปลว่า ต่ำ สั้น ส่วนมากใช้ อิตฺตร. ส. อิตร.
  4. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  5. อุจจงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย (ส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้ สรีระก็ได้). อุจฺจงฺคสทฺโท องฺคสามญฺญวาจโก สรีร- วาจโก วา. วิ. อุสฺสชฺชติ เอตฺถาติ อุจฺจงคํ. อุปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, อ, สสฺส จาเทโส, ทฺวิตฺตํ, ชสฺส โค, นิคฺคหิตาคโม. ฏีกาอภิฯ.
  6. อุตฺตริภงฺค : (ปุ.) แกงอันหักเสียซึ่งรสอันยิ่ง, แกงมีรสอร่อย, แกงอันมีรสต่าง ๆ, แกง อ่อม, ต้มยำ.
  7. อุปลกฺขณา : อิต. การเข้าไปกำหนดหมาย, ปัญญาเครื่องกำหนดความแตกต่าง
  8. อุปลกฺเขติ : ก. ทำให้เห็นข้อแตกต่าง, เข้าไปกำหนด, สังเกต
  9. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  10. เอกวิธ : ค. มีอย่างเดียว, ไม่ต่างกัน
  11. โอสถ โอสธ : (นปุ.) ยา, เครื่องยา, ตัวยา, ตัวยาต่าง ๆ, ยารักษาโรค, ยาแก้โรค. วิ. โรคํ โอสาสาเปตีติ โอสถํ โอสธํ วา. อุสฺ ทาเห, โถ, โธวา. ส. เอา สธ.
  12. 1-50 | 51-100 | [101-112]

(0.0165 sec)