Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ต่าง , then ตาง, ต่าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ต่าง, 112 found, display 51-100
  1. ปรวิสย : ป. วิสัยของผู้อื่น, เขตแดนของผู้อื่น, ดินแดนผู้อื่น, ต่างแดน; โลกอื่น, เปตติวิสัย
  2. ปวสติ : ก. อยู่ต่างถิ่น, อยู่ไกลบ้าน
  3. ปวาส : ป. การท่องเที่ยวไปต่างประเทศ, การอยู่นอกถิ่นของตน
  4. ปวาสี : ค. ผู้อยู่ต่างถิ่น, ผู้อยู่นอกบ้าน
  5. ปารเทสิก : ค. ซึ่งเป็นชาวต่างประเทศ
  6. ปุคฺคลเวมตฺตตา : อิต. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
  7. ปุฏเภท : ป., ปุฏเภทน นป. การแตกต่างแห่งถุงหรือห่อ, การเปิดถุงหรือห่อ
  8. ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง; ๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
  9. ปุน : อ. อีก, ซ้ำ, แตกต่าง
  10. ปุลสก : (ปุ.) ก้อนเส้า (ก้อนดินหรือก้อนอิฐก้อนหินที่เอามาตั้งเป็นหลักต่างเตาตั้งเป็นสามเส้าสำหรับต้มแกง). ปุลุสุ อุปทาเห, อ, สตฺเถ โก.
  11. ผาสุลิกา : (อิต.) สีข้าง, ซี่โครง. รากศัพท์เหมือนผาสุกา ต่างแต่ลง ลิ อาคมหน้า ก. อภิฯ
  12. พฺยาสตฺตมนส : (วิ.) ผู้มีฉันทะมีในใจมาข้องอยู่ต่าง, ผู้มีใจข้องแล้วในอารมณ์ต่างๆ, ผู้มีใจข้องอยู่แล้วในอารมณ์ต่างๆ.
  13. ภินฺนชาติ : (อิต.) ชาติอื่น, ต่างชาติ.
  14. มณิกุณฺฑล : นป. ต่างหูเพชร, ต่างหูแก้วมณี
  15. มูสล : (ปุ. นปุ.) แปลและธาตุเหมือน มุสล ต่างแต่ทีฆะ อุ ที่ มุ เป็น อู.
  16. มูฬหฺ : (วิ.) ดู มุฬฺห ต่างแต่ทีฆะ อุ เป็น อู.
  17. รงฺคชาต : นป. สีย้อมชนิดต่าง
  18. วิชาติก : ค. ต่างชาติ
  19. วิเทส : ป. ต่างประเทศ
  20. วินิพนฺธ : ก. แยก, เห็นข้อแตกต่าง
  21. วินิพฺโภค : ป. การแยก, การสังเกตเห็นข้อแตกต่าง
  22. วิวาท : ป. การกล่าวต่างกัน, การโต้เถียง, การทะเลาะ
  23. วิวิธ : ค. มีอย่างต่าง
  24. วิเวเจติ : ก. แยกออก, มองเห็นข้อแตกต่าง, ติ, วิพากษ์
  25. วิสภาค : ค. ต่างกัน, ไม่เสมอกัน
  26. เวมตฺต : นป. ความต่างกัน, ความแปลกไป
  27. เวมาติก : ค. มีมารดาต่างกัน, ต่างมารดากัน
  28. เววจน : นป. คำมีรูปต่างกัน แต่ความหมายเหมือนกัน, ไวพจน์
  29. เววณฺณิย : นป. ความเป็นผู้มีเพศต่างกัน
  30. สมฺปุฎ : (ปุ.) หีบ, ผอบ, ตลับ, ตะกร้า, กล่อง, กล่องข้าว, ลุ้ง, สมุก ชื่อภาชนะสานกัน ๔ มุมมีฝาครอบ สำหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ. สํปุพฺโพ, ปุฎ. สํกิเลสเน, อ. ส. สมฺปุฎ.
  31. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  32. สลากหตฺถ : (ปุ.) การเล่นฟาดให้เป็นรูปต่างๆ, การฟาดให้เป็นรูปต่าง ๆ.
  33. สาตกุมฺภ : (นปุ.) สาตกุมภะ ชื่อทองต่างชนิดอย่างที่๒ ใน ๔ อย่าง. สตกุมฺภํ ปทุมเกสร วณฺณํ, ตพฺพณฺณสทิสตฺตา สาตกุมฺภํ.
  34. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  35. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  36. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  37. หาว : (ปุ.) การเยื้องกราย (การเดินอย่างมีท่างาม) เป็นกิริยาเสน่หาต่าง ๆ ของหญิง. วิ. หูยนฺเต ราคิโน อตฺราติ หาโว. หุ หวเน, โณ.
  38. องฺคสมฺภาร : ป. ส่วนประกอบของสิ่งต่าง
  39. อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
  40. อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
  41. อญฺญถต : นป. ความเปลี่ยนแปลง, การเป็นอย่างอื่น, ความแตกต่าง
  42. อธิปฺปาโยส : ป. ความแตกต่าง, ลักษณะพิเศษ, ความหมายพิเศษ
  43. อนฺตรายิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอันตราย, ธรรมอันทำซึ่งอันตราย, เหตุเครื่องขัดข้องต่าง, เหตุขัดข้องต่าง ๆ, ความขัดข้องต่าง ๆอันตรายิกธรรม
  44. อเนกปริยาเยน : ก.วิ.โดยประการต่าง ๆ, โดยอเนกปริยาย
  45. อพฺยยสทฺท : (ปุ.) ศัพท์คงที่, ฯลฯ, อัพยยศัพท์ชื่อศัพท์จำพวกหนึ่งจะแจกด้วยวิภัตทั้ง๗แปลงรูปไปต่าง ๆเหมือนนามทั้ง๓ ไม่ได้ (จากบาลีไวยากรณ์).ส่วนคัมภีร์อื่นเช่น รูปฯแจกด้วยวิภัติทั้ง ๗ ได้บางศัพท์แต่รูปไม่เปลี่ยนแปลง.
  46. อเภท : ค. ๑. ไม่แตกต่าง, ไม่ต่างกัน ; ๒. ทำลายไม่ได้
  47. อวิเสสกร : ค. อันไม่แปลก, ไม่แตกต่าง
  48. อวิเสสน : ก. วิ. โดยไม่แปลก, โดยไม่แตกต่างกัน
  49. อหิริก : (ปุ.) คนหมดความละอาย, คนหมดความละออายใจ, คนหมดความขยะแขยงในการทำทุจริตต่าง ๆ, สภาพที่ไม่ละอายแก่อกุศลทุจริต.
  50. อโหสิกมฺม : (นปุ.) อโหสิกรรมคือกรรมที่ต่างฝ่ายต่างเลิกแล้วต่อกันการไม่เอาบาปกรรมแก่กัน, กรรมที่ไม่ให้ผล.วิ.อโหสิกํกมฺมํอโหสิกมฺมํ.ลบกสกัด.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-112

(0.0186 sec)