Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ด้วยเสน่หา, เสน่หา, ด้วย , then ด้วย, ดวยสนหา, ด้วยเสน่หา, สนหา, เสน่หา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ด้วยเสน่หา, 1126 found, display 951-1000
  1. อตฺตนิย : (วิ.) เกิดแล้วในตน, เกิดแล้วแต่ตน, เกิดในตน, เกิดแต่ตน, เนื่องด้วยตน, นี้ของตน, วิ. อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย. อตฺตนา ชาโตอตฺตนิโย, อตฺตโน อิทนฺติ ยตฺตนิยํ. อิย ปัจ.ชาตาทิตัท.นฺอาคม.โมคฯขาทิกัณฑ์ลง นิย ปัจ.
  2. อตฺตปจฺจกฺข : ค. ประจักษ์ด้วยตนเอง
  3. อตฺตวาท : ป. วาทะว่ามีตน, ทฤษฎีว่าด้วยเรื่องวิญญาณ
  4. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  5. อตฺถรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่องลาดแล้วด้วยขนสัตว์, เครื่องลาด, เครื่องปู, วัตถุสำหรับปูพื้น. อาปุพฺโพ, ถรฺ ถรเณ, ยุ, รฺสโส, ตฺสํโยโค.
  6. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  7. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  8. อธิน อธีน : (วิ.) ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง, ผู้พี่งพิง, ผู้ว่าง่าย ผู้สอนง่าย, เป็นบ่าว, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เนื่องด้วย. อธิคโต อิโน ปภูเยนาติ อธีโน. อธีน
  9. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  10. อนตฺถสญฺหิต : (วิ.) มิใช่กิจอันประกอบแล้วด้วยประโยชน์.
  11. อนฺเตวาสิก, อนฺเตวาสี : ป. ศิษย์, ผู้อยู่อาศัยด้วย
  12. อนาคามี : (วิ.) ผู้ไม่มาเป็นอีก, ผู้จะไม่มาเป็นอีกผู้ไม่มีการมาสู่กามธาตุด้วยสามารถแห่งปฏิ-สนธิ.วิ.ปฏิสนฺธิวเสน อิมํ กามธาตํนอาคจฺฉตีติอนาคามี.
  13. อนิกสฺสน : (นปุ.) ที่ไม่เห็นด้วยจักษุ, อนิทัสสนะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  14. อนิยม : (วิ.) มิใช่ความกำหนด, มิใช่ความแน่นอน, มิใช่ความชอบ, อนิยม (ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน นอกแบบ).ส.อนิยม.
  15. อนุจร : (วิ.) ผู้ติดตาม, ผู้ไปตาม, ผู้โดยสารไปด้วยท่าน.
  16. อนุชาตอนุชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรเสมอด้วยตระ-กูล, บุตรชั้นกลาง, อนุชาตบุตร (ผู้เกิดตามมาไม่ดีหรือเลวกว่าตระกูล).
  17. อนุชาต อนุชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรเสมอด้วยตระ- กูล, บุตรชั้นกลาง, อนุชาตบุตร (ผู้เกิดตาม มา ไม่ดีหรือเลวกว่าตระกูล).
  18. อนุป : (ปุ.) ประเทศอันชุ่มชื้นด้วยน้ำวิ. อนุคตาอาปาอเตฺรติอนุโป.บางมติว่า เป็นไตรลิงค์.ส.อนุป.
  19. อนุปริวตฺติ : อิต. ความหมุนไปมารอบๆ; ความเกี่ยวข้องด้วย
  20. อนุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็น, การเพ่งเล็ง, การพิจารณา, การพิจารณาเห็น, การพิจารณาเนืองๆ, ความตามเห็น, ฯลฯ, อนุปัสสนาพิจารณาด้วยปัญญา, ปัญญา.อนุปสฺสนาวุจฺจติปญฺญา.ไตร. ๓๐/๘๐/๑๖๐.
  21. อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
  22. อนุวาทาธิกรณ : (นปุ.) อธิกรณ์อันเกิดจากการกล่าวหา, เรื่องที่ต้องระงับอักเกิดจากการกล่าวหา, อนุวาทาธิกรณ์(การโจทกันด้วยอาบัตินั้นๆ).
  23. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  24. อนูปฆาต : (ปุ.) การไม่เข้าไปเบียดเบียน, การไม่เบียดเบียน, การไม่ทำร้าย, การไม่ข่มเหง, การไม่รังแก, อนูปฆาต (การไม่เบียดเบียนด้วยกายคือการไม่รังแกเขา ข่มเหงเขา ทำให้เขาช้ำใจ เจ็บใจ สะเทือนใจ).
  25. อนูปวาท : (ปุ.) การไม่เข้าไปกล่าว, การไม่กล่าวโทษ, การไม่กล่าวร้าย, การไม่ว่าร้ายอนูปวาทะ (การไม่เบียดเบียนด้วยวาจาคือการไม่พูดดูถูกเขาดูหมิ่นเขาข้อนขอด-เขา).อนูปฺฆาตะ และ อนูปวาทะเป็นคุณสมบัติของผู้เผยแพร่ (เผยแผ่) พระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสไว้ในโอวาท-ปาติโมกข์.
  26. อเนกสสารอเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสารอัน...พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่หนึ่ง.
  27. อเนกสสาร อเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสาร อัน... พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่ หนึ่ง.
  28. อปจายนมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติถ่อมตน, สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติอ่อนน้อมแก่ผู้ใหญ่.
  29. อปฺปกสิเรน : ก. วิ. ด้วยความลำบากเล็กน้อย, ไม่สู้จะลำบาก
  30. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  31. อปฺปีติก : ค. ไม่ประกอบด้วยปีติ, ไม่อิ่มใจ
  32. อปราปรเจตนา : (อิต.) เจตนาอื่นและเจตนาอื่น, เจตนาอื่น ๆ, อปราปรเจตนาคือ เจตนาที่เกิดสืบ ๆ ต่อจากเจตนาขณะบริจาคดูมุญฺจนเจตนาด้วย.
  33. อปาปุรณอปาปูรณ : (นปุ.) กุญแจ, ดาล, ดาฬ(กลอนประตู).ดูอวาปูรณด้วย.
  34. อพพ : (นปุ.) อพพะชื่อมาตรานับเท่ากับแสนคูณด้วยร้อย.อวฺรกฺขเณ, โว, พการาเทโส, พฺสํโยโค.สตฺตสตฺตติพินฺทุสหิตาเอกา เลขาอพพํ.
  35. อพฺภนุชานาติ : ก. ยินยอม, เห็นชอบด้วย
  36. อพฺภนุโมทติ : ก. อนุโมทนายิ่ง, ยินดีด้วยยิ่ง
  37. อพฺยยสทฺท : (ปุ.) ศัพท์คงที่, ฯลฯ, อัพยยศัพท์ชื่อศัพท์จำพวกหนึ่งจะแจกด้วยวิภัตทั้ง๗แปลงรูปไปต่าง ๆเหมือนนามทั้ง๓ ไม่ได้ (จากบาลีไวยากรณ์).ส่วนคัมภีร์อื่นเช่น รูปฯแจกด้วยวิภัติทั้ง ๗ ได้บางศัพท์แต่รูปไม่เปลี่ยนแปลง.
  38. อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
  39. อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
  40. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  41. อภิธมฺมกถา : (อิต.) กถาว่าด้วยอภิธรรม.
  42. อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
  43. อภิรุจิต : กิต. ประสงค์, ชอบใจ, เห็นด้วย
  44. อภิสมฺพุทฺธ : (วิ.) ผู้รู้พร้อมแล้วด้วยปัญญาอันยิ่งผู้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง.
  45. อภิสมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ยิ่ง, ความตรัสรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง.
  46. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  47. อภิเสก : (ปุ.) อันรดด้วยคุณอันยิ่ง, การรดน้ำ, การได้บรรลุ, อภิเษกคือการแต่งตั้งโดยทำพิธีรดน้ำเช่นพิธีเสวยราชย์ของพระเจ้าแผ่นดิน.ส. อภิเษก.
  48. อมฺพา : (อิต.) แม่เป็นคำเรียกหญิงด้วยความยกย่อง.แม่เรียกหญิงผู้ให้บุตรเกิด.วิ.ปุตฺเตนอมียตีติอมฺพา.อมฺคมเน, โพ.อม ปูชายํวา.อถวา, อพิสทฺเทสาทเน วาอ, นิคฺคหิตาคโม.ส.อมฺพา.
  49. อมฺหมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยหิน, เป็นวิการแห่งหิน.อสฺม+มยปัจ.แปลงสฺมเป็นมฺห.
  50. อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1126

(0.0824 sec)