Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เน้นหนัก, เน้น, หนัก , then นน, เน้น, เน้นหนัก, หนก, หนัก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เน้นหนัก, 115 found, display 51-100
  1. พหุ : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, หลาย, ใหญ่, ใหญ่โต, อะโข, อักโข. วิ. พหติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ พหุ. พหฺ วุทฺธิยํ, อุ.
  2. พหุล : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก. วิ. พหูอตฺเถ ลาตีติ พหุลํ. ลา อาทาเน, อ. พหุสัขฺยาเณ วา, อโล.
  3. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  4. พาฬฺห : อ. อย่างแข็งแรง, อย่างมั่นคง, อย่างมากมาย, อย่างหนักแน่น
  5. พาฬฺหคิลาน : (ปุ.) ไข้หนัก.
  6. ภาร : (วิ.) หนัก, หยาบ, หนา.
  7. ภารกิจฺจ : (นปุ.) งานหนัก, กิจหนัก, ภารกิจ (งานที่ต้องทำ).
  8. ภารนิกฺเขปน : นป. การวางของหนัก, การวางธุระ
  9. ภารวาห : (ปุ.) คนนำของหนักไป, คนผู้แบก, คนผู้หาบ. วิ. ภารํ วหตีติ ภารวาโห. ภารปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ.
  10. ภาริก : (ปุ.) คนนำของหนักไป. ณิกปัจ.
  11. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  12. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  13. ภูริ ภูรี : (วิ.) มาก, เจริญ, แข็งแรง, หนา, หนักหนา.
  14. มหาหาส : (ปุ.) การหัวเราะใหญ่, การหัวเราะหนักหนา.
  15. มหุสฺสาห : (วิ.) มีเพียรมาก, มีเพียรหนักหนา.
  16. มิณาติ : ก. นับ, ชั่งน้ำหนัก, วัด
  17. เยภุยฺย : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, มากยิ่ง, ชุกชุม.
  18. วจฺจมคฺค : ป. เวจมรรค, ช่องทวารหนัก
  19. วิหญฺญติ : ก. เดือดร้อน, ทุกข์หนัก
  20. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  21. สารตฺตรตฺต : (วิ.) ทั้งกำหนดหนักแล้วทั้งกำหนัดแล้ว.
  22. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  23. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  24. อติภาร : ป. ภาระหนักยิ่ง, ธุระหนัก
  25. อติภาริต, อติภาริย : ค. ซึ่งหนักมาก
  26. อติมตฺต : (วิ.) เกินประมาณ, ยิ่ง, ล้ำ, นักหนาหนักหนา.วิ.มตฺตโตอติกฺกนฺตํ อติมตฺตํ.
  27. อติสย : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, ยิ่งกว่า, นักหนา, หนักนามากมาย, ดียิ่ง, เลิศ, ประเสริฐ, อดิสัย, อดิศัย. ส. อติศย.
  28. อติฬาฬฺห : ค. หนักมาก, แข็งแรงยิ่ง
  29. อติฬาฬฺห : ก. วิ. หนักยิ่ง, มากยิ่ง
  30. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  31. อนฺตมุข : ป. รูทวารหนัก, เวจมรรค
  32. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  33. อวเทหก : ค. เต็มอิ่ม, เต็มท้อง เช่นคำว่า อุทราวเทหกโภชนํ = อาหารหนัก
  34. อุมฺมาน : (วิ.) ชั่งน้ำหนัก, เทียบ, เทียบกัน, วัด, วัดกัน. อุปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
  35. เอกนฺต : (วิ.) ยิ่ง, ล้ำ, นักหนา, หนักหนา, ข้างเดียว, ส่วนเดียว. วิ. เอติ คจฺฉตีติ เอโก. อิ คมเน, ณฺวุ, เอโก เอว เอกนฺตํ. สกตฺเถ นฺตปจฺจโย. เอกํ ตรตีติ วา เอกนฺตํ. เอก ปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม, รฺโลโป.
  36. โอหารี : ป. การดึงลง, การถ่วงลง, ความหนัก
  37. ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
  38. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  39. นูน : อ. แน่
  40. ปฏิคฺคณฺหนก : ค. ผู้รับ, ผู้รับเอา, ซึ่งรองรับไว้
  41. โมหนก : ค.นอกลู่นอกทาง, งงงวย
  42. อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
  43. กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
  44. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  45. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  46. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  47. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  48. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  49. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  50. ตุลิกา : (อิต.) นุ่น, ฟูกอันบุคคลยัดแล้วด้วย นุ่น, ฟูกยัดนุ่น.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-115

(0.0466 sec)