Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปรมาณ , then ปรมาณ, ประมาณ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปรมาณ, 122 found, display 51-100
  1. ทุวงฺคุล : ค. มีประมาณสองนิ้ว
  2. เทฺวสีติโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฏิแปดสิบสองประมาณ, ทรัพย์ประมาณแปดสิบสองโกฏิ, ทรัพย์แปดสิบสองโกฏิ.
  3. ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
  4. ธมฺมปฺปมาณ : ค. มีธรรมเป็นประมาณ, ถือธรรมเป็นประมาณ
  5. นงฺคลสีสมตฺตขนฺธ : (วิ.) มีลำต้นมีงอนแห่ง ไถเป็นประมาณ. เป็น ฉ.ตุล. มี. ฉ.ตัป. และ ฉ.ตุล เป็นภายใน.
  6. นาฬีมตฺต : ค. ประมาณทะนานหนึ่ง
  7. ปมาณ : (วิ.) พอเหมาะ, เป็นประมาณ, เป็น หลักฐาน, เป็นที่เชื่อถือได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
  8. ปมาณก : ค. ซึ่งมี...เป็นประมาณ, ซึ่งมีขนาดเท่า, ซึ่งวัดได้เท่า
  9. ปมาณกต : ค. ที่เขาทำให้เป็นประมาณ, ถือเอาเป็นมาตรฐาน, วางเป็นตัวอย่าง, เป็นเครื่องวัด
  10. ปมาณวนฺตุ : ค. มีประมาณ, มีกำหนด, วัดได้, จำกัด; มี (คุณ) พอประมาณได้หรือวัดได้
  11. ปมาณิก : ค., ป. ซึ่งถือเอกเป็นประมาณ, ซึ่งวัดด้วย, ซึ่งมีประมาณเท่า, ซึ่งขนาดเท่า; ผู้ถือประมาณ, ผู้วัด, ผู้ตัดสิน
  12. ปมาย : กิต. ประมาณแล้ว, วัดแล้ว, ย่ำยีแล้ว, เหยียบย่ำแล้ว, ทำลายแล้ว
  13. ปมายี : ค. ซึ่งประมาณ, ซึ่งวัด, ซึ่งกะ, ซึ่งกำหนด
  14. ปเมยฺย : (วิ.) นับได้, ประมาณได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  15. ปรมตา : อิต. ความเป็นอย่างยิ่ง, ประมาณสูงสุด
  16. ปริตฺตก : (วิ.) มีประมาณน้อย, ฯลฯ.
  17. ปาณิมตฺต : ค. มีประมาณฟายมือหนึ่ง, มีประมาณกำมือหนึ่ง
  18. ปาณุเปต : ค. ถือเอาชีวิตเป็นประมาณ, จนตลอดชีวิต
  19. ปาทมตฺต : ค. ซึ่งมีประมาณหนึ่งบาท, ซึ่งมีบาทหนึ่งเป็นประมาณ
  20. พฺยามปฺปภาปริกฺขิต : (วิ.) อันแวดล้อมแล้วด้วยรัศมีมีวาหนึ่งเป็นประมาณ. หนึ่งเป็นคำเหน็บเข้ามา.
  21. พินฺทุมตฺต : ค. (น้ำ) มีประมาณหยาดหนึ่ง, เพียงหยาดเดียว
  22. พิฬารนิสฺสกฺกน (มตฺต) : ค. (ที่มีประมาณ) พอแมวลอดได้
  23. มตฺตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งประมาณ, ความเป็นผู้รู้ประมาณ, ความเป็นผู้รู้จักประมาณ, ความเป็นคนรู้จักประมาณ, ความเป็นคนผู้รู้จักพอดี, ความรู้จักประมาณ.
  24. มตฺตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งประมาณ, ผู้รู้จักพอดี, ผู้รู้ซึ่งประมาณโดยปกติ, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี.
  25. มตฺตภาณี : (วิ.) ผู้พูดพอ ประมาณ, ผู้พูดพอดี, ผู้กล่าวแต่พอประมาณ, ฯลฯ.
  26. มตฺตา : อิต. ประมาณ, ย่อมเยา, พอสมควร
  27. มตฺตาสุข : นป. สุขพอประมาณ
  28. มตฺตาสุขปริจาค มตฺตาสุขปริจฺจาค : (ปุ.) การสละรอบซึ่งสุขพอประมาณ, การเสียสละซึ่งสุขมีประ มาณน้อย, การสละซึ่งสุขพอประมาณ.
  29. มิต : ๑. กิต. นับแล้ว; ๒. ค. พอประมาณ, น้อย
  30. มิตภาณี : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักกล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักว่าขานซึ่งคำพอประมาณ, ผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลนับแล้วโดยปกติ, ฯลฯ, ผู้พูดพอควร, ผู้พูดพอประมาณ.
  31. ยตฺตก : (วิ.) มีประมาณเท่าใด, เพียงใด, เพียงไร. วิ. ยํ ปริมาณเมตสฺส ยตฺตกํ. ย+ตฺตก ปัจ. รูปฯ ๓๖๙.
  32. ยาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าไร ฯลฯ. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺส ยาวตกํ. ย+อาวตก ปัจ.
  33. ยาวตา : (อัพ. นิบาต) มีประมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าไร, มีประมาณเพียงใด, มีประมาณเพียรไร.
  34. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  35. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  36. เยภุยฺยสิกา : (อิต.) ความเห็นข้างมาก, เยภุยยสิกา ชื่อของวิธีระงับอธกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ.
  37. โยชนมตฺต : (วิ.) มีโยชน์เป็นประมาณ.
  38. รตนมกุล : (วิ.) มีศอกตูมเป็นประมาณ.
  39. รถเรณุ : ป. มาตราชั่งประมาณ ๓๖ ตัชชารี; ละออง, ขี้ฝุ่น
  40. ลูขปฺปมาณิก : ค. ผู้ถือเอาความเศร้าหมองเป็นประมาณ
  41. สพฺพาวนฺต : (วิ.) มีประมาณทั้งปวง, ฯลฯ วิ. สพฺพํ ปริมาณเมตสฺส สพฺพาวนฺตํ อวนตฺปัจ.
  42. สฺวปฺป : (วิ.) ประมาณน้อย, พอประมาณ. สุฎฐุ+อปฺป ลบ ฎฐุ แปลง อุ ที่ สุ เป็น ว.
  43. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  44. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  45. อจฺฉราสหสฺสปริวาร : (วิ.) ผู้มีพันแห่งนางอัปสรเป็นประมาณเป็นบริวาร, ผู้มีพันแห่งนางอัปสรเป็นบริวาร, มีนางอัปสรพันหนึ่งเป็นบริวาร.
  46. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปด เป็นประมาณ. อสมาหารทิคุ. กัม. อฏฺฐา รส โกฏิโย อฏฺฐารสโกฏิโย. ฉ. ตุล. อฏฺฐารสโกฏิโย ปมาณานิ ยสฺส ตํ อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ (ธนํ) วิเสสนบุพ. กัม. อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ ธนํ อฏฺฐารสโกฎธินํ. เป็นมัชเฌโลบ.
  47. อฑฺฒงฺคุล : (วิ.) มีกึ่งแห่งองคุลีเป็นประมาณ
  48. อติโธนจารี : ค. ผู้ไม่รู้จักประมาณ, ผู้เป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  49. อติมตฺต : (วิ.) เกินประมาณ, ยิ่ง, ล้ำ, นักหนาหนักหนา.วิ.มตฺตโตอติกฺกนฺตํ อติมตฺตํ.
  50. อธิมตฺต : (วิ.) อันมีประมาณยิ่ง, มาก, แรง.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-122

(0.0282 sec)