Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทานะ , then ทาน, ทานะ, ทานา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทานะ, 123 found, display 101-123
  1. ปรทตฺตูปชีวี : (วิ.) ( เปรต ) ผู้อาศัยทานอัน บุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่โดยปกติ, ผู้มีปกติ เข้าไปอาศัยทานอันบุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่, ผู้อาศัยทานอันบุคคลให้เป็นอยู่, ผู้ เป็นอยู่ ด้วยทานอันบุคคลให้ .
  2. เปสล : (วิ.) มีฝีมือ, เก่ง, ฉลาด, เชี่ยวชาญ, ชำนาญ, ขยัน. ปิสฺ หึสาพลทานนิเกตเนสุ, อโล.
  3. มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
  4. สนฺธารก : ค. ผู้ทรงไว้, ผู้สอบทาน
  5. สนฺธาเรติ : ก. ทรงไว้, ผู้สอบทาน, ยกขึ้น, เหนี่ยวรั้ง, ค้ำจุน
  6. สนฺนิรุมฺภน : นป. การยับยั้ง, การสอบทาน, การระงับ, การปราบปราม
  7. หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
  8. อติปทาน : นป. การให้ทานมาก
  9. อนาทาย : กิต. ดู อนาทาน
  10. อนุทยาอนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู.วิ.อนุทยติปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจหึสตีติอนุทยาอนุทฺทยาวา.อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  11. อนุทยา อนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู. วิ. อนุทยติ ปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ อนุทยา อนุทฺทยา วา. อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  12. อนุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มเติม, การเพิ่มให้.อา+อุป+ทานนฺอาคม.
  13. อนุวิจินก : ค. ผู้ตรวจ, ผู้ทาน, ผู้พิจารณา
  14. อวจุตฺถ : ก. (ท่าน) ได้กล่าวแล้ว
  15. อสชฺชิตฺถ : ก. (ท่าน) ข้องแล้ว, ติดแล้ว
  16. อาสถปิณฺฑ : ป. ก้อนข้าวที่เขาเลี้ยงในที่พักคนเดินทาง, อาหารในโรงทาน
  17. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  18. อุตฺติฏฐ : ก. (ท่าน) จงลุกขึ้น
  19. อุทฺธเทหิก : (ไตรลิงค์) ทานมีเบื้องบนแห่งกาย, ทานที่ให้เพื่อผู้ตายในวันตาย. วิ. มตทิวเส มตตฺถํ ยํ ปิณฺฑปาตชลาญฺชลฺยาทิทานํ เอตํ ทานํ เทหา อุทฺเธ ภวํ อุทฺธเทหิกํ. ณิก ปัจ.
  20. อุปปริกฺขติ : ก. เห็นรอบ, พิจารณา, สำรวจ, สอบทาน
  21. อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
  22. เอกชฺฌสมาทาน : (นปุ.) การถือเอาด้วยดี เป็นอันเดียวกัน, ฯลฯ, การสมาทานรวม กัน. การสมาทานมี ๒ อย่าง คือ สมาทาน แยกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน อย่างหนึ่ง การสมาทานรวมกัน เช่น กล่าวว่า พุทฺธปญฺญ ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ. เรียกว่า เอกชฺฌสมาทาน อย่างหนึ่ง. ผู้สมา ทานล่วงสิกขาบทใดบทหนึ่ง เป็นอันขาด หมดทุกสิกขาบท (ศีลขาดหมดทุกข้อ).
  23. 1-50 | 51-100 | [101-123]

(0.0134 sec)