Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปฏิบัตินิยม, ปฏิบัติ, นิยม , then นยม, นิยม, ปฏบตนยม, ปฏิบัติ, ปฏิบัตินิยม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปฏิบัตินิยม, 124 found, display 101-124
  1. อภิโยคี : ป. ผู้ปฏิบัติ, ผู้ประกอบความเพียร, ผู้ใคร่ครวญ
  2. อริยมคฺค : (ปุ.) ทางอันประเสริฐ, ทางอันยังผู้ปฏิบัติให้เป็นพระอริยบุคคล, ทางของพระอริยะ.
  3. อริยวิหาร : ป. อริยวิหาร, การอยู่อันประเสริฐ, การอยู่ดี, การปฏิบัติดี
  4. อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
  5. อวสฺสว : ค. มีผล, นิยมใช้ในรูปปฏิเสธว่า “อนสฺสว = ไม่มีผล” เท่านั้น
  6. อวุตฺติปริโภค : ป. การบริโภคอาหารที่ผิดธรรมชาติ (คืออาหารที่เขาไม่นิยมกินกัน)
  7. อสปฺปายเสวน : (นปุ.) การเสพของอันไม่เป็นสัปปายะ, การเสวนะกับสิ่งที่เป็นอันตรายแก่การปฏิบัติ, ของแสลง.
  8. อาจริยวตฺต : (นปุ.) วัตรอันศิษย์ (อันเตวาสิก)พึงทำแก่อาจารย์, กิจอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์, กิจที่ควรประพฤติปฏิบัติแก่อาจารย์, วัตรเพื่ออาจารย์, กิจเพื่ออาจารย์.
  9. อาจริยวาท : ป. อาจริยวาท, คำสั่งสอนที่ปฏิบัติตามที่อาจารย์สอนได้แก่ ลัทธิมหายาน
  10. อาจารโคจร : ค. ผู้ประพฤติปฏิบัติในทางที่ดี, ผู้ตั้งมั่นอยู่ในมรรยาทที่ดี
  11. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  12. อารญฺญกวตฺต : (นปุ.) ขัอปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ในป่า.
  13. อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
  14. อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
  15. อุชุปฏิปนฺน : (วิ.) ปฏิบัติตรงแล้ว, ปฏิบัติตรง, ปฏิบัติตรงต่อพระธรรมวินัย.
  16. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  17. อุปจริต : กิต. ปฏิบัติ, รับใช้
  18. อุปจิณฺณ : กิต. สั่งสมแล้ว, พอกพูนแล้ว, ปฏิบัติแล้ว
  19. อุปฏฐเปติ : ก. เข้าไปตั้งไว้, วางไว้, เตรียมไว้, ให้รับใช้, ให้คอยปฏิบัติ, ให้อุปสมบท
  20. อุปฏฐาก : ป. อุปัฏฐาก, ผู้รับใช้, ผู้บำรุง, ผู้ปฏิบัติ
  21. อุปฏฐาน : นป. การอุปัฏฐาก, การคอยรับใช้, การบำรุง, การปฏิบัติ
  22. อุปฏฐาเปติ : ก. ให้เข้าไปตั้งไว้, ให้เข้าไปคอยปฏิบัติ, ให้เข้าไปบำรุง
  23. อุปฏฐิต : กิต. ถูกตั้งไว้แล้ว, ถูกตระเตรียมแล้ว, เข้าไปใกล้แล้ว, เข้าไปปฏิบัติแล้ว
  24. 1-50 | 51-100 | [101-124]

(0.0426 sec)