Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

ETipitaka Pali-Thai Dict : , 124 found, display 51-100
  1. : (นปุ.) ธรรมชาตอันบุคคลพึงกลัว, ัย.
  2. ีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. เย, อ, ติ.
  3. : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, นา, ที่นา, เขา, ูเขา, ความเจริญ. ู สตฺตายํ, อ. อิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  4. : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, แนะท่านผู้เจริญ. โ อักษรในอรรถแห่งสัมโพธะก็มี สมโณ ขลุ โ โคตโม.
  5. ยสลา : ป. การได้ยศ, การมียศ
  6. สลา : (วิ.) มีลา
  7. สุมฺ : (ปุ.) บ่อ, หลุม. สุมฺฺ หึสายํ, อ.
  8. หตฺถิกลก หตฺถิกุล : (ปุ.) ช้างสะเทิน (สะเทิน คือรุ่น), ช้างรุ่น. หตฺถี+กล ศัพท์หลังแปลง อ เป็น อุ.
  9. หตฺถิกุมฺ : ป. ตระพองช้าง
  10. องฺคุลฺยารณ : (นปุ.) เครื่องประดับของนิ้ว, แหวน.
  11. องฺคุลิยก,- เลยฺยก, องฺคุลฺยารณ : นป. ดู องฺคุลิมุทฺทา
  12. อนุวน : (นปุ.) การเสวย, ความเสวย, ความประสบ, ความรู้สึก.
  13. อนุวนฺต : กิต. กินอยู่, เสวยอยู่, ประสบอยู่
  14. อนุสุมฺติ : ก. ตกแต่ง, ประดับ, เสริม
  15. อพฺุ(ู) ตธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน ; เป็นชื่อของคัมีร์เล่มหนึ่งในนวังคสัตถุศาสน์
  16. วน : (นปุ.) การครอบงำ, การกดขี่, ความครอบงำ, ความกดขี่.
  17. วนีย : ค. พึงครอบครอง, พึงชนะ
  18. วนียตา : อิต. ความเป็นผู้อันใครๆ พึงครอบงำได้
  19. วอ : (วิ.) ครอบงำ.
  20. อสพฺ, - : ค. ไม่สุาพ, หยาบคาย, ทราม
  21. อาสุมฺติ : ก. โยนลง, ทิ้งลง
  22. อิติวาวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
  23. อิสฺสริยารณ : (นปุ.) เครื่องประดับอันยิ่งใหญ่, อิสริยารณ์ (เครื่องประดับเกียรติยศ).
  24. อุร : (ปุ.) แกะ, แพะ, เนื้อทราย, อูฐ. ไม่ลง นิคคหิตอาคม.
  25. คพฺ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครร์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง เป็น พฺ). ครฺ วา เสจเน, อโ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺฺ ธารเณ, อ.
  26. ชมฺ ชมฺีร ชมฺุล : (ปุ.) มะนาว, ต้นมะนาว, ส้ม, ต้นส้ม. ชมุ อทเน, นฺโต (ลง อักษรที่สุดธาตุ), อ, อีโร, อุโล. ชมฺฺ คตฺตวิมาเน. ส. ชมฺพีร ชมฺีร แปลว่า มะกรูดด้วย.
  27. ตุมฺ : (ปุ. นปุ.) คนโทน้ำ, หม้อน้ำ. ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ. แปลง พ เป็น .
  28. พทฺท : (วิ.) งาม, ดี, เจริ, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, สุข, สบาย, สำราญ. ทิ กลฺยาเณ, โท. แปลง เป็น พ.
  29. พีจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
  30. อุรมฺ : (ปุ.) แกะ, แพะ. อุ ในอรรถแห่ง น, รุ ธาตุ ปัจ. แปลง อุ ที่ รุ เป็น อ ลง นิคคหิตอาคม.
  31. กิณฺณ : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า, แป้งข้าว หมาก, แป้งเหล้า. วิ. กิรนฺติ นานาทพฺพานิ มิสฺสี วนฺตยสฺสนฺติ กิณฺณํ. กิรฺ วิกิรเณ, โต, ณฺณาเทโส, รฺโลโป.
  32. กุมฺีล : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปในห้วงน้ำ, จระเข้, กุมา กุมีล์. วิ. กุมเ อุลตีติ กุมฺีโล. กุมฺปุพฺ- โพ, อุลฺ คมเน, อ, อุสฺสี. ส. กุมฺีร.
  33. คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสูตํ วนํ คนฺธกุฎี นาม.
  34. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ วํ คีเวยฺยํ. คีวาย อารณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  35. ชรตา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชิยฺยนฺติ วุทฺธา วนฺติ อสฺสนฺติ ชรา. ชรา เอว ชรตา. ตาปัจ. สกัด. ความเป็นแห่งคนแก่. ตาปัจ, าวตัท.
  36. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  37. ตุณฺหีาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส าโว ตุณฺหีาโว. ตุณฺหี วนํ วา ตุณฺหีาโว. ไทยใช้ ดุษณีาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  38. ทาฬิม ทาลิม : (ปุ.) ทับทิม, ต้นทับทิม. ทฬฺ วิทารเณ, โม, อิ อาคโม. เป็น ทามฺ บ้าง.
  39. ทุร พุพฺ : (วิ.) ผู้อัน...เลี้ยงได้โดยยาก วิ. ทุกฺเขน ริยตีติ ทุโร ทุพฺโร วา. ทุกฺข+รฺ+ข ปัจ. รูปฯ ไขว่า ได้แก่ มหิจฺฉ.
  40. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  41. ปรกฺกมาธิคตสมฺปท : (วิ.) ผู้มีสมบัติอันได้แล้ว ด้วยความเพียร วิ. ปรฺกกเมน อธิคตาสมฺปทา เยหิ เต วนฺติ ปรฺกกมาธิคตสมฺปทา. รูปฯ ๓๔๑.
  42. พฺยคฺฆี : (อิต.) มะอึก วิ. ยกรณวเสน พฺยคฺฆสทิสตาย พฺยคฺฆี. อี ปัจ.
  43. : (นปุ.) นิมิตสตรี, เครื่องหมายเพศของสตรี. วิ. ชนฺตยสฺมินฺติ คํ. ชฺ เสวายํ, อ. ชสฺส โค.
  44. คุ : (ปุ.) คุ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ตน ๑ ใน ๑๑ ตน วิ. ํ นกฺขตฺตํ คจฺฉติ ชานาตีติ คุ, ปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อุ. ลบที่สุดธาตุ. รตีติวา คุ. รฺ รเณ, คุ, รฺโลโป.
  45. จฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. รียตีติ จฺโจ. รฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ริตพฺโพติ วา จฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  46. พฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ูยเตติ พฺพํ. วนํ วา พฺพํ. ู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
  47. มุกา : (อิต.) คิ้ว. วิ. มติ จรตีติ มุ มุโก มุกา วา. มุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  48. มุ มุก : (ปุ.) คิ้ว. วิ. มติ จรตีติ มุ มุโก มุกา วา. มุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  49. ริยา : (อิต.) หญิงอันบุรุษพึงเลี้ยง, รรยา, ารยา, ริยา, เมีย. ริตพฺพโต ริยา. รฺ โปสเน, โย อิอาคโม.
  50. วคฺค : (ปุ.) วัคคะ ชื่อพของพรหม ชื่อพรหมผู้เกิดในชั้นวัคคะ, วัคคพรหม.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-124

(0.0208 sec)