Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 101-150
  1. กาฬกูฏ : (ปุ.) กาฬกูฏ ชื่อยอดแห่งทิวเขา หิมาลัย และเป็นชื่อของพิษงู, เม็ดดำ ๆ.
  2. กิงฺกิณิกชาล : นป. ข่ายแห่งกระดิ่ง, กระดิ่งตาข่าย, ห่วงลูกพรวน
  3. กิจฺจยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งหน้าที่, ความเป็นหน้าที่. กิจฺจ+ยฺ และ อ อาคม ตา ปัจ.
  4. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  5. กิณฺณ : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า, แป้งข้าว หมาก, แป้งเหล้า. วิ. กิรนฺติ นานาทพฺพานิ มิสฺสี ภวนฺตยสฺสนฺติ กิณฺณํ. กิรฺ วิกิรเณ, โต, ณฺณาเทโส, รฺโลโป.
  6. กิมิชาติ : (อิต.) ชาติแห่งหนอน, หนอน, แมลงต่าง ๆ. สองคำแปลหลัง ลง ชาติสกัด.
  7. กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
  8. กิเลสกฺขย : ป. ความสิ้นแห่งกิเลส
  9. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  10. กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
  11. กิเลสภูมิ : อิต. ภูมิแห่งกิเลสมี ๔ คือ (๑) สังโยชน์ (๒) อนุสัย (๓) ปริยุฏฐาน (๔) อุปาทาน
  12. กิเลสวตฺถุ : นป. กิเลสวัตุ, วัตถุเป็นที่ตั้งขึ้นแห่งกิเลส
  13. กีวรูป : (วิ.) มีเพียงไรแห่งรูป.
  14. กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
  15. กึกิณิกชาล : (นปุ.) ข่ายแห่งกระดึง.
  16. กึสุอธิปติ : (วิ.) เป็นใหญ่ยิ่งแห่งอะไรสิ.
  17. กุจฺฉิวิการ : ป. ความพิการแห่งท้อง, ลำไส้พิการ
  18. กุญฺจนาท : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนาท ด้วย.
  19. กุญฺจิกาวิวร : (นปุ.) ช่องแห่งกุญแจ, ช่อง กุญแจ, ช่องดาฬ. กุญฺจิกา+วิวร.
  20. กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
  21. กุล : (นปุ.) หมู่แห่งชนผู้มีชาติอย่างเดียวกัน. กลฺ สํขฺยาเณ, อ, อสฺสุ.
  22. กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
  23. กุลงฺคาร : ป. บุคคลผู้เป็นดุจถ่านเพลิงแห่งวงศ์ตระกูล, ผู้ผลาญวงศ์ตระกูล
  24. กุลตนฺติ : อิต. แบบแผนประจำตระกูล, ประเพณีแห่งตระกูล
  25. กุลทฺวาร : นป. ประตูแห่งสกุล
  26. กุลทาสี : อิต. นางกุลทาสี, สาวใช้แห่งตระกูล, หญิงรับใช้ประจำครอบครัว
  27. กุลธีตุ : (อิต.) ธิดาแห่งตระกูล, ลูกหญิงผู้มีตระกูล, ลูกสาวผู้มีตระกูล, กุลธิดา. หมายถึงลูกของผู้มีสกุลดี หรือลูกสาวที่ รักษาความเป็นลูกผู้หญิงที่ดี มีมารยาทดี.
  28. กุลปุตฺต : (ปุ.) บุตรแห่งตระกูล, ลูกชายผู้มี ตระกูล. มีนัยเดียวกันกับ กุลธีตุ.
  29. กุลวส : นป. วงศ์แห่งตระกูล, ตระกูลวงศ์
  30. กุลสนฺตก : นป. อันเป็นของมีอยู่แห่งตระกูล; สมบัติของตระกูล, สมบัติประจำตระกูล
  31. กุลิตฺถี : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, หญิงผู้คู่ควรแก่ตระกูล. วิ. กุลานุรุปา อิตฺถี กุลิตฺถี. หญิงแห่งตระกูล วิ. กุลสฺส อิตฺถี กุลิตฺถี. ดูกุลธีตุ ด้วย.
  32. กุลิน กุลีน : (ปุ.) คนมีตระกูล, เหล่ากอแห่ง ตระกูล วิ. กุลสฺส อปจฺจํ กุลิโน วา. อิน, อีน ปัจ.
  33. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  34. กุสลปกฺขิก : ค. อันเป็นฝักฝ่ายแห่งกุศล
  35. กุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความดี, ฯลฯ.
  36. กุสลวิปาก : ป. กุศลวิบาก, ผลแห่งกรรมดี
  37. กุสลาภิสนฺท : ป. วิบากเป็นแดนไหลออกแห่งกุศล, ผลแห่งกุศลธรรม, ห้วงบุญ
  38. กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
  39. กูฏสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งค้อนเหล็ก, ค้อนเหล็ก หนึ่งพันค้อน.
  40. กูฏาคารกุจฺฉิปฺปมาณ : (วิ.) มีท้องแห่งเรือนยอด เป็นประมาณ.
  41. กูฏาคารสต : (นปุ.) ร้อยแห่งเรือนอันประกอบ แล้วด้วยยอด, ร้อยแห่งเรือนยอด.
  42. กูลเทส : (ปุ.) ฝั่งแห่งมหาสมุทร, ฝั่งมหาสมุทร.
  43. เกฏภ : นป. เกฏภศาสตร์, ศาสตร์ชนิดหนึ่งของพราหมณ์ ว่าด้วยวิชาการกวี, ศาสตร์อันเป็นอุปกรณ์แห่งกวี
  44. เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
  45. เกทารโกฏิ : อิต. ที่สุดแห่งนา, ปลายนาดอน
  46. เกลาสกูฏปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. ฉ. ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. ฉ. ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
  47. เกสกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผม
  48. เกสกลาป : ป. มัดแห่งผม, ปอยผม, จุกผม
  49. เกสโสภา : อิต. ความงามแห่งผม, ผมงาม
  50. โกฏฐพฺภนฺตร : นป. ภายในแห่งท้อง, ลำไส้
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0577 sec)