Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 1051-1100
  1. องฺควิชฺชา : (อิต.) วิชาทำนายอวัยวะ, วิชาดูลายมือ, วิชาดูลักษณะแห่งบุรุษสตรี, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  2. องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
  3. องฺคาวยว : (ปุ.) ส่วนต่างๆ แห่งร่างกาย, อังคาพยพ องคาพยพ (ส่วนน้อยและส่วนใหญ่ของร่างกาย).
  4. องฺคีรส : (วิ.) ผู้มีองค์เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากอวัยวะ, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตน, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตนดังเปลวไฟ.วิ. องฺคมฺหิ กาเยรโส รํส ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส. ณ ปัจ.ตทัสสัตถิตัท. อี อาคม.
  5. องฺคุลฏฺฐิ : (นปุ.) กระดูกแห่งนิ้วมือ, กระดูกนิ้วมือ.
  6. อจฺจนฺตทุสฺสีลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลชั่วเป็นไปล่วงซึ่งส่วนสุด, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้วโดยแท้, ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน.
  7. อจฺฉราสหสฺสปริวาร : (วิ.) ผู้มีพันแห่งนางอัปสรเป็นประมาณเป็นบริวาร, ผู้มีพันแห่งนางอัปสรเป็นบริวาร, มีนางอัปสรพันหนึ่งเป็นบริวาร.
  8. อจฺฉราสหสฺสมชฺฌ : (นปุ.) ท่ามกลางแห่งพันแห่งนางอัปสร, ท่ามกลางนางอัปสรหนึ่งพัน
  9. อชครเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งงูเหลือม.
  10. อชฺชว : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ซื่อตรง, ความเป็นแห่งคนซื่อตรง, ความเป็นคนซื่อตรง.วิ. อุชุโน ภาโว อชฺชวํ.ณปัจ.ภาวตัท. แปลง อุ เป็น อ แปลง อุ ที่ ชุเป็น อว แปลง ช เป็น ชฺช. ความซื่อตรง.ณ ปัจ. สกัต.
  11. อชฺฌตฺตนิลกสิณาทิรูปชฺฌานวส : (ปุ.) อำนาจแห่งการเพ่งซึ่งรูปมีกสิณอันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยสีเขียวอันเป็นไปทับซึ่งตนเป็นต้น.
  12. อชฺฌาปตฺติ : อิต. การต้องโทษ, การเกิดขึ้นแห่งโทษ
  13. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  14. อฏฺฐก : (ปุ.) ประชุมแห่งชนแปด, ประชุม แห่งวัตถุแปด. วิ. อฏฺฐนฺนํ สมูโห อฏฺฐ โก. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
  15. อฏฺฐิสณฺฐาน : (นปุ.) ทรวดทรงแห่งกระดูก, ทรงกระดูก.
  16. อฏฺฐิสณฺฐาน : (นปุ.) ทรวดทรงแห่งกระดูก, ทรงกระดูก.
  17. อฑฺฒงฺคุล : (วิ.) มีกึ่งแห่งองคุลีเป็นประมาณ
  18. อฑฺฒมณฺฑล : (นปุ.) กึ่งแห่งวงกลม, กึ่งวงกลม, อัฑฒมณฑล, อัฒมณฑลเรียกกระทงเล็กของจีวรว่า อัฒมณฑลกระทงใหญ่ว่ามณฑล. วิ. มณฺฑลสฺสอฑฺฒํอฑฺฒมณฺฑลํ.
  19. อณฺฑโกส : (ปุ. นปุ.) เปลือกแห่งไข่, เปลือกไข่. ส.อณฺฑโกศอณฺฑโกษ.
  20. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  21. อตฺตมนตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจอันปีติและโสมนัสถือเอาแล้ว. ฯลฯ.
  22. อตฺตสมฺภว : (วิ.) มีตนเป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิดพร้อมแห่งตน, อันเกิดในตน.
  23. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  24. อตฺถญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้จักผล, ความเป็นผู้รู้จักผล.
  25. อตฺถาปคม : ป. ความฉิบหายแห่งทรัพย์
  26. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  27. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  28. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  29. อทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือน, ครึ่งเดือน.
  30. อธิจฺจกา : (อิต.) พื้นเบื้องบนแห่งภูเขา, พื้นดินบนภูเขา.วิ. ปพฺพตสฺส อุทฺธํ ภูมิ อธิจฺจกาอธิ+จฺจกปัจ.
  31. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  32. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  33. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  34. อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
  35. อนฺตกาล : (ปุ.) กาลแห่งความตาย, เวลาตาย.ส.อนฺตกาล.
  36. อนฺตชาติ : (อิต.) ชาติแห่งคนต่ำช้า (คนไม่มีตระกูล).
  37. อนตฺตตา : (อิต.) ความที่แห่งภาวะเป็นภาวะมีตนหามิได้, ฯลฯ, ความที่แห่งของเป็นของมีตนหามิได้, ความเป็นของมีตนหามิได้, ฯลฯ.
  38. อนตฺถตา : (อิต.) ความที่แห่งกรรมเป็นกรรมมิใช่ประโยชน์, ความเป็นแห่งกรรมมิใช่ประโยชน์.
  39. อนฺตรฆร : (นปุ.) ระหว่างแห่งเรือน, ละแวกแห่งบ้าน, ละแวกบ้าน.
  40. อนฺตรามคฺค : (นปุ.) ระหว่างแห่งหนทาง.วิ.มคฺคสฺสอนฺตราอนฺตรามคฺคํ.
  41. อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
  42. อนฺโตฆร : (นปุ.) ภายในแห่งเรือน, ภายในเรือน
  43. อนฺโตชน : (ปุ.) ชนภายใน, ชนภายในแห่งเรือน
  44. อนฺโตชาต : (ปุ.) ทาสเกิดในภายในแห่งเรือน, ทาสเกิดในเรือน, ทาสในเรือน.วิ.อนฺโตเคเหทาสิยากุจฺฉิสฺมึชาโตอนฺโตชาโต.
  45. อนฺโตภสฺตคต : (วิ.) อันไปแล้วในภายในแห่งกระทอ, อนฺโต+ภสฺตา+คต.
  46. อนฺโตวสฺส : (นปุ.) ภายในแห่งพรรษา, ภายในพรรษา.
  47. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  48. อนริยปริเยสนา : (อิต.)การแสวงหาอันไม่ประเสริฐ, การแสวงหามิใช่ของพระอริยะ, การแสวงหามิใช่ทางแห่งพระอริยะ.
  49. อนฺวฑฺฒมาสอนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือนโดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์.วิ.อนุปุ-พฺเพนอฑฺฒมาสํอทฺธมาสํวาอนฺวฑฺฒมาสํอนฺวทฺธมาสํวา.ลบปุพฺพแปลงอุที่นุเป็นอ.
  50. อนฺวฑฺฒมาส อนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือน โดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์. วิ. อนุปุ- พฺเพน อฑฺฒมาสํ อทฺธมาสํ วา อนฺวฑฺฒมา สํ อนฺวทฺธมาสํ วา. ลบ ปุพฺพ แปลง อุ ที่ นุ เป็น อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0479 sec)