Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 1101-1150
  1. อนาคามี : (วิ.) ผู้ไม่มาเป็นอีก, ผู้จะไม่มาเป็นอีกผู้ไม่มีการมาสู่กามธาตุด้วยสามารถแห่งปฏิ-สนธิ.วิ.ปฏิสนฺธิวเสน อิมํ กามธาตํนอาคจฺฉตีติอนาคามี.
  2. อนาปตฺติ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งอาบัติวิ. อาปตฺติยาอภาโวอนาปตฺติ.
  3. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  4. อนิลปถ : (ปุ.) คลองแห่งลม, กลางหาว, ฟ้า, ท้องฟ้า, อากาศ.
  5. อนิสฺสยมหึภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อา-ศัยมิได้ (เพราะไม่มีวัตถุ มีต้นไม้ ภูเขา และเมืองเป็นต้น).
  6. อนุเชฏฺ : (นปุ.) ลำดับแห่งผู้ใหญ่. วิ.เชฏฺฐานํ อนุปุพฺโพ. อนุเชฏฺฐํ.
  7. อนุเชฏฺฐ : (นปุ.) ลำดับแห่งผู้ใหญ่.วิ.เชฏฺฐานํอนุปุพฺโพ.อนุเชฏฺฐํ.
  8. อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
  9. อนุรถ : (นปุ.) ภายหลังแห่งรถ.วิ.รถสฺสปจฺฉาอนุรถํ.
  10. อนุสมฺปวงฺกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้คล้อยตาม.
  11. อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
  12. อปฺปรชกฺขชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งบุคคลผู้มีธุลีในนัยน์ตาน้อย, ผู้มีกิเลสธุลีในดวงตาน้อย.
  13. อปฺปิจฺฉตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย.
  14. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  15. อปรรตฺต : (นปุ.) อื่นแห่งราตรี.รตฺติ+อปรแปลง อิ เป็น อ กลับบท.
  16. อปริหานิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม.
  17. อปางฺค : (ปุ.) ดิลก (รอยเจิมที่หน้าผาก), ไฝ, ที่สุดแห่งตา, หางตา.วิ.สรีรงฺคสํขาตสฺสกณฺณสฺสอปสมีปํอปางฺโคส.อปางฺค.
  18. อปายมุข : (นปุ.) เหตุเครื่องความเสื่อม, เหตุแห่งความฉิบหาย, ทางแห่งความเสื่อม, ทางแห่งความฉิบหาย.
  19. อปายสมุทฺท : ป. มหาสมุทรแห่งความทุกข์
  20. อปายสหาย : (ปุ.) เพื่อนชักชวนในความฉิบหาย, เพื่อนชักชวนในทางแห่งความฉิบหาย.
  21. อปิกณฺณ : (นปุ.) ใกล้หู, ที่ใกล้แห่งหู, ที่ใกล้หู.วิ.กณฺณสฺสสมีปํอปิกณฺณํ.
  22. อพฺภฆน : (ปุ.) กลีบแห่งเมฆ, กลีบเมฆ.
  23. อพฺยสน : (วิ.) มิได้ทำกรรมอันเป็นแดนแห่งความฉิบหาย.
  24. อพฺยาเสกอวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิดจิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอพฺยาเสกํ.นวิอาสิจฺธาตุอภิฯลงอปัจ.ฏีกาอภิฯลงณปัจ.
  25. อพฺยาเสก อวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและ นัยน์ตาให้เกิด จิตฺตสฺส อกฺขิโน จ ปิติชนกํ วตฺถุ อพฺยาเสกํ. น วิ อา สิจฺธาตุ อภิฯ ลง อ ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง ณ ปัจ.
  26. อภยทาน : (นปุ.) การให้ความไม่มีแห่งภัย, อภัยทาน.
  27. อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
  28. อภิถุตอภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น.วิ.โทสายรตฺติยาอารมฺโภอภิโทโส.อถวาอภิทุสฺสนฺติสพฺพกมฺมานีติอภิโทโส
  29. อภิถุต อภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น. วิ. โทสาย รตฺติยา อารมฺโภ อภิโทโส. อถวา อภิทุสฺสนฺติ สพฺพกมฺมานีติ อภิโทโส
  30. อภินิหาร : (ปุ.) คุณเครื่องนำออกยิ่ง, อภินิหารคืออำนาจแห่งบารมีอำนาจบุญกุศลที่สร้างสมไว้.เป็นอภินีหาร บ้าง.
  31. อภิภายตน : นป. ฐานะหรือภาวะแห่งความมีอำนาจเหนือ
  32. อมจฺจสหสฺสปริวุต : (วิ.) ผู้อันพ้นแห่งอมาตย์แวดล้อมแล้ว.
  33. อมตฏฺฐาน : (นปุ.) ที่อัน...ไม่เคยตายแล้ว, ที่อันสัตว์ไม่เคยตายแล้ว, ที่แห่งสัตว์ไม่ตาย, ที่ที่สัตว์ไม่ตาย.
  34. อมตทุนฺทุภิ : อิต. กลองแห่งพระนิพพาน, กลองประกาศอมตธรรม
  35. อมตธาตุ : อิต. พระนิพพานธาตุ, ธาตุแห่งพระนิพพาน
  36. อมตปท : (ปุ. นปุ.) ทางแห่งความไม่ตาย, ทางแห่งอมตะ, ทางแห่งพระนิพพาน.
  37. อมตผล : นป. ผลแห่งพระนิพพาน, ผลอันไม่ตาย
  38. อมโนรม : ค. ไม่เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, ไม่เป็นที่ชอบใจ
  39. อมฺพวน : (นปุ.) ป่าแห่งมะม่วง, สวนมะม่วง.
  40. อมฺพุราสิอมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล.ส.อมฺโภราศิ.
  41. อมฺพุราสิ อมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล. ส. อมฺโภราศิ.
  42. อมรินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่กว่าเทวดา, ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, ผู้เป็นนายของเทวดา.
  43. อมฺหมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยหิน, เป็นวิการแห่งหิน.อสฺม+มยปัจ.แปลงสฺมเป็นมฺห.
  44. อมฺหาก : ส. แห่งเราทั้งสอง
  45. อรญฺญายตน : นป. ผีป่า, ชัฏแห่งป่า
  46. อรหตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระอรหันต์, คุณเครื่องเป็นพระอรหันต์, ความเป็นพระอร-หันต์, อรหัตผล.อรหนฺต+ตฺตปัจ.ภาวตัทลบนฺต.วิ.อรหโตภาโวอรหตฺตํ.
  47. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  48. อริยวสปฏิปทาทิ : (วิ.) มีปฏิปทาอันเป็นไปตามซึ่งวงศ์แห่งพระอริยะเป็นต้น.
  49. อริยสฆอริยสงฺฆ : (ปุ.) หมู่แห่งพระอริยะ.วิ.อริยานํสงฺโฆสมูโหอริยสงฺโฆ.สงฆ์ผู้เป็นอริยะวิ. อริโยสงฺโฆอริยสงฺโฆ.
  50. อริยสงฺฆ : ป. พระอริยสงฆ์, หมู่แห่งพระอริยบุคคล
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | [1101-1150] | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0415 sec)