Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 301-350
  1. ชนาธิป : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่แห่งชน, คนผู้เป็น จอมแห่งชน, พระผู้เป็นจอมแห่งชน, พระ จอมประชาชน, พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่ง ชน, พระเจ้าแผ่นดิน, พระราชา. วิ. อธิ – ปาตีติ อธิโป. อธิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, โร. ชนานํ อธิโป ราชา ชนาธิโป.
  2. ชนินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่ในชน, ผู้เป็นใหญ่ใน หมู่ชน, ผู้เป็นจอมแห่งชน, ผู้เป็นจอมแห่ง หมู่ชน.
  3. ชปฺปิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตเหนี่ยว รั้ง, ความที่จิตเหนี่ยวรั้ง.
  4. ชยมงฺคล : นป. ชัยมงคล, โชคดีแห่งความชนะ
  5. ชยสิทฺธิ : (อิต.) ความสำเร็จแห่งความชนะ, ความสำเร็จแห่งชัยชนะ.
  6. ชยสุมนาลตฺตกปาฏลวณฺณ : (วิ.) มีสีเพียง ว่าสีแห่งดอกชัยพฤกษ์และสีครั่งและ ดอกแค. เป็น ฉ. อุปมาพหุพ. มี อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  7. ชรกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็นคนแก่, ฯลฯ.
  8. ชรตา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชิยฺยนฺติ วุทฺธา ภวนฺติ อสฺสนฺติ ชรา. ชรา เอว ชรตา. ตาปัจ. สกัด. ความเป็นแห่งคนแก่. ตาปัจ, ภาวตัท.
  9. ชราชิณฺณมหลฺลก : (วิ.) ผู้ถือเอาซึ่งความเป็น แห่งคนแก่อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว, ผู้ แก่เพราะอันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  10. ชราชิณฺณมหลฺลกิตฺถีวณฺณ : (ปุ.) เพศแห่ง หญิงแก่อันความชราให้คร่ำคร่าแล้ว.
  11. ชราพฺยาธิมรณมิสฺสตา : (อิต.) ความที่แห่ง ชาตินั้นเป็นชาติเจือด้วยชราและพยาธิและ มรณะ, ความที่แห่งชาตินั้นเป็นของมีชรา และพยาธิและมรณะเจือปน.
  12. ชลธิ : (วิ.) เป็นที่ทรงอยู่แห่งน้ำ วิ. ชลํ ธียเต อสฺมินฺติ ชลธิ. ชล+ธา+อิ ปัจ.
  13. ชลนยน ชลเนตฺต : (นปุ.) น้ำแห่งตา, น้ำตา, ชลนัยน์ ชลนา ชลเนตร (น้ำตา). นยน + ชล, เนตฺต+ชล. เป็น ส.ตัป กลับ บทหน้า ไว้หลัง เมื่อเป็นบทปลง.
  14. ชฬตฺต : (นปุ.) ความที่แห่ง...เป็นคนเขลา, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเขลา, ฯลฯ.
  15. ชาตตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เกิดแล้ว, การเกิด
  16. ชาติกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งการเกิด, ความสิ้นชาติ
  17. ชาตินิโรธ : ป. ความดับสูญแห่งการเกิด
  18. ชาติปภว : ป. ต้นเหตุแห่งชาติ, มูลเหตุที่ให้เกิด
  19. ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
  20. ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
  21. ชาติสมฺเภท : ป. ความแตกต่างแห่งชาติตระกูลหรือยศศักดิ์
  22. ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
  23. ชาลสิขา : (อิต.) เปลวแห่งไฟ, เปลวไฟ.
  24. ชินปุตฺต ชิโนรส : (ปุ.) บุตรแห่งพระชิน, บุตร แห่งพระพุทธเจ้า, พระสงฆ์.
  25. ชิเนนฺท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (เป็นจอมแห่งความชนะ).
  26. ชิวฺหคฺค : (ปุ.) ปลายแห่งลิ้น, ปลายลิ้น.
  27. ชีวิตกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งชีวิต, ชีวิตักษัย, ตักษัย ( ใช้ในบทกลอน ).
  28. ชีวิตปริกฺขาร : ป. บริขารแห่งชีวิต, สิ่งที่จำเป็นแก่ชีวิต, สิ่งที่ชีวิตต้องอาศัยเป็นอยู่
  29. ชีวิตปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง ชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต, ความสิ้นสุดชีวิต.
  30. ชีวิตวุตฺติ : อิต. ความเป็นไปแห่งชีวิต, ความเป็นอยู่, การดำรงชีพ
  31. ชีวิตเหตุ : ก. วิ. เหตุแห่งชีวิต, เหตุแห่งความเป็นอยู่, เพื่อความเป็นอยู่
  32. ชีวิตินฺทฺริย : นป. ชีวิตินทรีย์, ความเป็นใหญ่แห่งชีวิต, กำลังแห่งชีวิต, ความสำคัญแห่งชีวิต, อินทรีย์คือชีวิต
  33. เชตวนโปกฺขรณีตีร : (นปุ.) ฝั่งแห่งสระโบก – ขรณีใกล้พระวิหารเชตวัน.
  34. ฌานงฺค : นป. องค์แห่งฌาน
  35. ฌามขาณุมตฺถก : (นปุ.) ที่สุดแห่งตออันไฟ ไหม้แล้ว.
  36. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  37. ญาณปถ : ป. คลองแห่งญาณ, แนวทางแห่งความรู้
  38. ญาณวตฺถุ : นป. ญาณวัตถุ, หัวข้อแห่งญาณ
  39. ญาณินฺทฺริย : นป. ญาณินทรีย์, พลังแห่งญาณ, ความสามารถหรือยิ่งใหญ่แห่งญาณ
  40. ญาติปริวฏฺฏ : นป. ความหมุนเวียนแห่งญาติพี่น้อง, เครือญาติ
  41. ญาติวฺยส : นป. ความพินาศแห่งญาติ, การเสื่อมแห่งญาติ
  42. ญาติสงฺฆปุรกฺขต : (วิ.) ผู้อันหมู่แห่งญาติแวด ล้อมแล้ว, ผู้อันหมู่แห่งญาติห้อมล้อมแล้ว.
  43. ญาติเหตุสมฺปตฺติ : อิต. สมบัติที่ได้รับเพราะเหตุแห่งญาติ
  44. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  45. ฐานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ฐานันดร ( ตำแหน่ง ตำแหน่งยศ ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์, หน้าที่การงาน). ฐาน + อนฺตร.
  46. ฐานนฺตร : นป. ฐานันดร, ลำดับแห่งยศบรรดาศักดิ์
  47. ฐิติภาคิย : ค. ผู้มีส่วนแห่งความตั้งมั่น, ผู้มีหลักฐาน, ผู้มีความยั่งยืน
  48. ฐิติภาว : ป. ความเป็นแห่งการตั้งอยู่, ความเป็นผู้มั่นคง
  49. ตกฺกากม : ป. ลำดับแห่งความตรึก
  50. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0837 sec)