Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 551-600
  1. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  2. ธมฺมานุสาร : (ปุ.) ความระลึกตามซึ่งพระธรรม. ธมฺม+อนุสาร. ความระลึกซึ่งคุณแห่ง พระธรรม ธมฺมคุณ+อนุสาร.
  3. ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
  4. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  5. ธราดล : (นปุ.) พื้นแห่งแผ่นดิน, พื้นแผ่นดิน.
  6. ธาตุโขภ : ป. ความกำเริบแห่งธาตุ
  7. ธาตุนานตฺต : นป. ความเป็นต่างๆ กันแห่งธรรมชาติหรือธาตุ
  8. ธารณตา : (อิต.) ความเป็นแห่งความทรง, ฯลฯ.
  9. ธูมกาลิก : ค. ชั่วระยะเวลาแห่งควัน, ชั่วระยะเวลาเผาศพ
  10. ธูมชาล : นป. กลุ่มแห่งควัน
  11. : (วิ.) เต็ม, เต็มพร้อม, สมบรูณ์, บริบรูณ์. อุ. นคร ที่เป็นที่เต็มพร้อมแห่งเรือน, ที่เป็น ที่สมบรูณ์ด้วยเรือน, พระนคร. วิ. นํ สมุปนฺนํ ฆรํ เอตฺถาติ นครํ. น+ฆร แปลง ฆ เป็น ค. งาม, ดี. อุ. นาคนฺตุก แขกผู้มาดี (สุนฺทรคต อาคนฺตุก) น+อาคนฺตุก.
  12. นกฺขตฺตปถ : (ปุ.) ทางแห่งนักษัตร, คลอง แห่งนักษัตร, อากาศ.
  13. นกฺขตฺตปีฬน : นป. การเบียดเบียนแห่งนักษัตร, ชะตาตก, สิ้นชะตา
  14. นกฺขตฺตราชา : ป. เจ้าแห่งนักษัตร, พระจันทร์
  15. นครทฺวารปาลก : (ปุ.) คนผู้รักษาซึ่งประตู แห่งพระนคร, ยามรักษาประตูพระนคร.
  16. นงฺคลทณฺฑ : (ปุ.) คันแห่งไถ. คันไถ.
  17. นงฺคลสีส : (นปุ.) งอนแห่งไถ, งอนไถ.
  18. นงฺคลสีสมตฺตขนฺธ : (วิ.) มีลำต้นมีงอนแห่ง ไถเป็นประมาณ. เป็น ฉ.ตุล. มี. ฉ.ตัป. และ ฉ.ตุล เป็นภายใน.
  19. นฎีตฎ : (ปุ.) ฝั่งแห่งแม่น้ำ, ตลิ่งชันแห่ง แม่น้ำ. นที+ตฎ แปลง ที เป็น ฏี.
  20. นทีกูล : นป. ฝั่งนที, ฝั่งแห่งแม่น้ำ
  21. นทีมุข : นป. ปากแห่งแม่น้ำ, ปากน้ำ
  22. นนฺทิกฺขย : ป. ความหมดสิ้นไปแห่งความอยาก
  23. นนฺทิภว : ป. ความมีอยู่, ความดำรงแห่งความเพลิน, ความเพียบพร้อมไปด้วยความเพลิดเพลิน
  24. นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  25. นนฺทิสมุทยน : นป. ความก่อตั้งขึ้นแห่งความยินดี, เหตุให้เกิดความเพลิน
  26. นภตล : (นปุ.) พื้นแห่งฟ้า. พื้นแห่งท้องฟ้า, นภดล. ส. นภสฺตล.
  27. นรกคฺคิ : ป. ไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
  28. นรกงฺคาร : ป. ถ่านไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
  29. นรปติ : ป. นฤบดี, ผู้เป็นใหญ่แห่งคน, พระเจ้าแผ่นดิน
  30. นรินฺท : ป. จอมแห่งนระ, พระเจ้าแผ่นดิน
  31. นลคฺคิ : ป. ไฟแห่งไม้อ้อ, ไฟที่เกิดจากไม้อ้อ
  32. นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
  33. นฺหานเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่อาบ, เวลาแห่ง การอาบ.
  34. นาคทนฺต : (ปุ.) งาแห่งช้าง,งาช้าง.ส.นาค.ทนฺต.
  35. นาคพล : นป., ค. กำลังแห่งช้าง; มีกำลังเท่ากับช้าง, มีกำลังเพียงดังกำลังแห่งช้าง
  36. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  37. นาคโลก : (ปุ.) โลกแห่งนาค, นาคพิภพ, บาดาล.
  38. นาคาธิปติ : (ปุ.) นาคาธิบดี ชื่อเทพผู้เป็น อธิบดีแห่งนาคเป็นใหญ่และรักษาทิศ ตะวันตก คือท้าววิรูปักษ์.
  39. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  40. นานตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของต่างๆ, ฯลฯ.
  41. นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
  42. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  43. นามกาย : (ปุ.) กองแห่งนาม, กองแห่งนาม ธรรม, หมู่คือนาม, หมู่คือนามธรรม.
  44. นิกุญช : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอันสะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น.นิปุพโพ,กุญฺชฺอพฺยตฺตสทฺเทกรเณวา,โณ.
  45. นิโคฺรธปริมณฺฑล : ๑. นป. ปริมณฑลหรือบริเวณของต้นไทร; ๒. ค. มีปริมณฑลเหมือนปริมณฑลแห่งต้นไทร
  46. นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
  47. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  48. นิติธมฺม : (ปุ.) หลักแห่งกฎหมาย, นิติธรรม.
  49. นิตินย : (ปุ.) ทางแห่งกฎหมาย, ทางกฎหมาย.
  50. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0441 sec)