Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 851-900
  1. มารเสนา : (อิต.) มารและเสนาแห่งมาร. มาร+มารเสนา ลบ มาร ศัพท์หลัง.
  2. มาสทฺธ : (ปุ. นปุ.) กึ่งแห่งเดือน.
  3. มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
  4. มิคราช มิคินฺท : (ปุ.) ราชาแห่งเนื้อ, จอมแห่งเนื้อ, ราชสีห์.
  5. มิจฺฉตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ. ความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. สกัด.
  6. มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจร : (วิ.) มีความดำริผิดเป็นที่จรไปแห่งอินทรีย์, มีความดำริผิดเป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, มีความดำริผิดเป็นอารมณ์.
  7. มิจฺฉาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตผิด, ความตั้งใจมั่นไปในทางที่ผิด, สมาธิผิด.
  8. มิถุน : (นปุ.) เมถุน ชื่อกลุ่มดาวราศีที่ ๓, คู่แห่งหญิงและชาย (ถีปุมทฺวยํ). วิ. อิตฺถีปุริสานํ ทฺวยํ มิถุนํ. มิถฺ สงฺคเม, อุโน.
  9. มิถุนายน : (นปุ.) การมาแห่งคู่หญิงชาย.
  10. มุขฺยา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นประธาน, ความเป็นหัวหน้า, ความเป็นประธาน. ณฺย ปัจ.
  11. มุขวฏฺฐ : (อิต.) ขอบแห่งปาก, ขอบปาก.
  12. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  13. มุต : ๑. นป. การรับรู้แห่งสัมผัส; ๒. กิต. รู้
  14. มุตฺตาคุณ : (ปุ.) พวงแห่งแก้วมุกดา.
  15. มุทุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ความเป็นแห่งคนอ่อนโยน.
  16. มุนิมุนิ : (ปุ.) นักปราชญ์แห่งนักปราชญ์, จอมปราชญ์ (พระพุทธเจ้า).
  17. มุนิราช : (วิ.) ผู้เป็นเจ้าแห่งมุนี.
  18. เมทนีตล : (นปุ.) พื้นแห่งแผ่นดิน, พื้นแผ่นดิน.
  19. โมกฺขมคฺค : ป. ทางแห่งความหลุดพ้น
  20. โมจาปน : นป. เหตุแห่งความหลุดพ้น,ความหลุดพ้น
  21. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  22. โมเนยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งมุนี วิ. มุนิสฺส ภาโว โมเนยฺยํ. เณยฺย ปัจ. ภาวตัท.
  23. ยญฺญสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมแห่งการบูชายัญ, ความสำเร็จแห่งการบูชายัญ
  24. ยถานุภาว : ก. วิ. ตามกำลังแห่งตน, ตามความสามารถของตน
  25. ยถาปสาท : ก. วิ. ตามความเสื่อมใสแห่งตน
  26. ยถาพล : ก.วิ. ตามกำลังแห่งตน
  27. ยถาลาภ : (นปุ.) ตามได้, ลำดับแห่งลาภ. วิ. โย โย ลาโภ ยถาลาภํ. เย เย วา ลาภา ยถาลาภํ. ลาภสฺส วา ปฏิปาฏิ ยถาลาภํ.
  28. ยมกวคฺควณฺณนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิตกำหนดนับด้วยเรื่องอันแสดงของที่เป็นคู่ๆ กัน.
  29. ยสวิโลป เสนาปติฏฺฐานาทิก : (วิ.) (อุปสฺคฺค) มีการถอดซึ่งยศและการลดซึ่งตำแหน่ง มีตำแหน่งแห่งเสนบดี เป็นต้น.
  30. ยานภูมิ : อิต. ถนน, ทางเป็นที่ไปแห่งยาน
  31. ยาวชีว : (นปุ.) เพียงไรแห่งชีวิต, กำหนดเพียงไร. แห่งชีวิต. วิ. ชีวสฺส ยตตโก ปริจฺเฉโท ยาวชีวํ.
  32. ยาวตายุก : (นปุ.) กำหนดเพียงใดแห่งอายุ, กำหนดเพียงไรแห่งอายุ.
  33. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  34. ยุทฺธภูมิ : (อิต.) แผ่นดินแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ภาคพื้นแห่งการต่อสู้, ฯลฯ, สนามรบ.
  35. ยุทธวิธี : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, วิธีแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
  36. ยุทฺธวินย : (ปุ.) ระเบียบแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ข้อบังคับแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, กฏแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
  37. ยูถ : (ปุ. นปุ.) ฝูง, โขลง, หมู่, หมู่แห่งสัตว์ดิรัจฉานผู้มีชาติเสมอกัน. วิ. สชาติยติรจฺฉานานํ คโณ ยูโถ. ยุ มิสฺสเน, โถ.
  38. โยพฺพญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กสาว, ความเป็นแห่งคนหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นสาว, ความเป็นแห่งคนรุ่นหนุ่ม ความเป็นเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณฺย ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  39. โยพฺพน : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณ ปัจ. พฤทฺธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ลบ ณฺ เหลือ อ นฺ อาคม รูปฯ ๓๗๒.
  40. รกฺขิตวนสณฺฑ : (ปุ.) ชัฎแห่งป่าอัน...รักษาแล้ว, ไพรสณฑ์อันนาคคือช้างรักษาแล้ว, ชัฏแห่งป่าชื่อรักขิตวัน.
  41. รชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระราชา, ความเป็นพระราชา, วิ. ราชิโน ภาโว รชฺชํ. ราช+ณยปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ลบ อ ที่ ช ลบ ณฺ รวมเป็น รชฺย แปลง ย เป็น ช. ราชสมบัติ ราชอาณาเขต ก็แปล.
  42. รชฺชกาล : (ปุ.) เวลาแห่งความเป็นพระราชา, รัชกาล คือ ระยะเวลาครองราชสมบัติของพระราชาองค์หนึ่งๆ.
  43. รชฺชทายาท : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นทายาทแห่งราชสมบัติ, รัชทายาท (ผู้สืบราชสมบัติ).
  44. รชฺชสีมา : อิต. เขตแดนแห่งราชอาณาจักร
  45. รฏฺฐปาล : (ปุ.) บุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, คณะบุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, รัฐบาล (องค์การปกครองบ้านเมือง องค์การบริหารบ้านเมือง).
  46. รฏฺฐสภา : (อิต.) ที่ชุมนุมของบ้านเมือง, ที่ประชุมของรัฐ, ที่ประชุมปรึกษาการบ้านเมือง, รัฐสภา ชื่อองค์การนิติบัญญัติ.
  47. รฏฺฐาธิป : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งแว่นแค้วน, บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งบ้านเมือง, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
  48. รตฺตนฺธการ : (ปุ.) กาลทำซึ่งมืดแห่งราตรี, เวลาค่ำมืด.
  49. รตฺตสุวณฺณนาวา : (อิต.) เรือเป็นวิการแห่งทองมีสีสุก.
  50. รตนตฺตย : (นปุ.) หมวดสามแห่งรตนะ, รัตนตรัย, พระรัตนตรัย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0528 sec)