Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 1201-1250
  1. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  2. อปรรตฺต : (นปุ.) อื่นแห่งราตรี.รตฺติ+อปรแปลง อิ เป็น อ กลับบท.
  3. อปราปรเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมให้ผลในภพสืบ ๆคือให้ผลในภพต่อไปจากชาติหน้า.
  4. อปริหานิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม.
  5. อปางฺค : (ปุ.) ดิลก (รอยเจิมที่หน้าผาก), ไฝ, ที่สุดแห่งตา, หางตา.วิ.สรีรงฺคสํขาตสฺสกณฺณสฺสอปสมีปํอปางฺโคส.อปางฺค.
  6. อปายมุข : (นปุ.) เหตุเครื่องความเสื่อม, เหตุแห่งความฉิบหาย, ทางแห่งความเสื่อม, ทางแห่งความฉิบหาย.
  7. อปายสมุทฺท : ป. มหาสมุทรแห่งความทุกข์
  8. อปายสหาย : (ปุ.) เพื่อนชักชวนในความฉิบหาย, เพื่อนชักชวนในทางแห่งความฉิบหาย.
  9. อปิกณฺณ : (นปุ.) ใกล้หู, ที่ใกล้แห่งหู, ที่ใกล้หู.วิ.กณฺณสฺสสมีปํอปิกณฺณํ.
  10. อพฺภฆน : (ปุ.) กลีบแห่งเมฆ, กลีบเมฆ.
  11. อพฺยสน : (วิ.) มิได้ทำกรรมอันเป็นแดนแห่งความฉิบหาย.
  12. อพฺยาเสกอวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิดจิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอพฺยาเสกํ.นวิอาสิจฺธาตุอภิฯลงอปัจ.ฏีกาอภิฯลงณปัจ.
  13. อพฺยาเสก อวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและ นัยน์ตาให้เกิด จิตฺตสฺส อกฺขิโน จ ปิติชนกํ วตฺถุ อพฺยาเสกํ. น วิ อา สิจฺธาตุ อภิฯ ลง อ ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง ณ ปัจ.
  14. อภยทาน : (นปุ.) การให้ความไม่มีแห่งภัย, อภัยทาน.
  15. อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
  16. อภิถุตอภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น.วิ.โทสายรตฺติยาอารมฺโภอภิโทโส.อถวาอภิทุสฺสนฺติสพฺพกมฺมานีติอภิโทโส
  17. อภิถุต อภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น. วิ. โทสาย รตฺติยา อารมฺโภ อภิโทโส. อถวา อภิทุสฺสนฺติ สพฺพกมฺมานีติ อภิโทโส
  18. อภินิหาร : (ปุ.) คุณเครื่องนำออกยิ่ง, อภินิหารคืออำนาจแห่งบารมีอำนาจบุญกุศลที่สร้างสมไว้.เป็นอภินีหาร บ้าง.
  19. อภิภายตน : นป. ฐานะหรือภาวะแห่งความมีอำนาจเหนือ
  20. อภิสิทฺธิ : (อิต.) ความเจริญยิ่ง, ความสำเร็จยิ่ง, ความสำเร็จ, ไทยใช้อภิสิทธิ์.ในความหมายว่าทำอะไรได้เหนือคนอื่นเหนือกฏ-หมายถ้ามีคนใช้อภิสิทธิ์ในความหมายนี้สังคมก็วุ่นวาย ประเทศชาติก็วุ่นวาย.
  21. อมจฺจสหสฺสปริวุต : (วิ.) ผู้อันพ้นแห่งอมาตย์แวดล้อมแล้ว.
  22. อมตฏฺฐาน : (นปุ.) ที่อัน...ไม่เคยตายแล้ว, ที่อันสัตว์ไม่เคยตายแล้ว, ที่แห่งสัตว์ไม่ตาย, ที่ที่สัตว์ไม่ตาย.
  23. อมตทุนฺทุภิ : อิต. กลองแห่งพระนิพพาน, กลองประกาศอมตธรรม
  24. อมตธาตุ : อิต. พระนิพพานธาตุ, ธาตุแห่งพระนิพพาน
  25. อมตปท : (ปุ. นปุ.) ทางแห่งความไม่ตาย, ทางแห่งอมตะ, ทางแห่งพระนิพพาน.
  26. อมตผล : นป. ผลแห่งพระนิพพาน, ผลอันไม่ตาย
  27. อมโนรม : ค. ไม่เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, ไม่เป็นที่ชอบใจ
  28. อมฺพวน : (นปุ.) ป่าแห่งมะม่วง, สวนมะม่วง.
  29. อมฺพุราสิอมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล.ส.อมฺโภราศิ.
  30. อมฺพุราสิ อมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล. ส. อมฺโภราศิ.
  31. อมรินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่กว่าเทวดา, ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, ผู้เป็นนายของเทวดา.
  32. อมฺหมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยหิน, เป็นวิการแห่งหิน.อสฺม+มยปัจ.แปลงสฺมเป็นมฺห.
  33. อมฺหาก : ส. แห่งเราทั้งสอง
  34. อรญฺญายตน : นป. ผีป่า, ชัฏแห่งป่า
  35. อรหตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระอรหันต์, คุณเครื่องเป็นพระอรหันต์, ความเป็นพระอร-หันต์, อรหัตผล.อรหนฺต+ตฺตปัจ.ภาวตัทลบนฺต.วิ.อรหโตภาโวอรหตฺตํ.
  36. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  37. อริยวสปฏิปทาทิ : (วิ.) มีปฏิปทาอันเป็นไปตามซึ่งวงศ์แห่งพระอริยะเป็นต้น.
  38. อริยสฆอริยสงฺฆ : (ปุ.) หมู่แห่งพระอริยะ.วิ.อริยานํสงฺโฆสมูโหอริยสงฺโฆ.สงฆ์ผู้เป็นอริยะวิ. อริโยสงฺโฆอริยสงฺโฆ.
  39. อริยสงฺฆ : ป. พระอริยสงฆ์, หมู่แห่งพระอริยบุคคล
  40. อรุณุคฺคมน : (นปุ.) การขึ้นไปแห่งอรุณ.
  41. อรุณุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งอรุณ.
  42. อรุโณทย : (ปุ.) การขึ้นไปแห่งอรุณ, การตั้งขึ้นแห่งอรุณ, อรุโณทัยอโณทัย(พระอาทิตย์เพิ่งขึ้น).ส.อุษสฺ
  43. อรูปโลก : ป. อรูปโลก, โลกแห่งความไม่มีรูป, โลกแห่งความไม่มีตัวตน
  44. อรูปาวจร : ค. อรูปาวจร, อันเที่ยวไปในอรูป, อันนับเนื่องด้วยโลกแห่งความไม่มีรูป
  45. อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
  46. อลตฺตกวณฺณ : (วิ.) มีสีราวกะว่าสีแห่งน้ำครั่ง, มีสีราวกะว่าสีแห่งครั่ง.
  47. อลฺลกุสมุฏฺฐิ : อิต. กำแห่งหญ้าสด
  48. อวนิ : (อิต.) แผ่นดิน วิ. สตฺเตอวตีติอวนิ.อวฺรกฺขเณ, ยุ, นสฺสนิตฺตํ (แปลงนเป็นนิ), นสฺสวาอสฺสอิตฺตํ (หรือแปลงอแห่งนเป็นอิ). หรือลงอนิปัจ.รูปฯลงอิปัจ.นฺอาคม.เป็นอวนีบ้างส.อวนิอวนี.
  49. อวิสาหฏมานสตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคลเป็นผู้มีจิตไม่ส่ายแล้ว, ความที่แห่งจิตเป็นจิตไม่ส่ายแล้ว, ความแน่วแน่.
  50. อสนิปาตอสนีปาตอสุนีปาต : (ปุ.) การตกแห่งสายฟ้า, ฟ้าผ่า, อสนีบาต, อสุนีบาต.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | [1201-1250] | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0552 sec)