Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 501-550
  1. ทานานิสส : ป. อานิสงส์แห่งการบริจาคทาน
  2. ทานุปกรณ : นป. อุปกรณ์แห่งทาน, เครื่องถวายทาน
  3. ทานุปฺปตฺติ, ปานูปปตฺติ : อิต. เหตุเกิดขึ้นแห่งทาน
  4. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  5. ทารุชปพฺพช. : (วิ.) อันเกิดแต่ไม้และอันเกิด แต่หญ้าปล้อง, บังเกิดแต่ไม้และเป็นวิการแห่งหญ้ามุงกระต่าย.
  6. ทาลคณ : ป. คณะแห่งทาส, หมู่ทาส, กลุ่มทาส
  7. ทาสพฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบ่าว, ฯลฯ. วิ. ทาสสฺส ภาโว ทาสพฺยํ พฺย ปัจ. หรือ ณฺย ปัจ. วุ อาคมท้ายศัพท์.
  8. ทาสีคณ : ป. คณะแห่งนางทาสี, หมู่นางทาสี, กลุ่มนางทาสี
  9. ทาฬิทฺทิย ทาลิทฺทิย : (นปุ.) ความเป็น แห่งคนจน, ฯลฯ. วิ. ทฬิทฺทสฺส ภาโว ทา ฬิทฺทิยํ. ณิย ปัจ. ภาวตัท.
  10. ทิคนฺต : (ปุ. นปุ.) ที่สุดแห่งทิศ,ขอบฟ้า.ทิสา+อนฺตแปลงสเป็นค.
  11. ทิชคณ : ป. คณะแห่งพราหมณ์, หมู่พราหมณ์หรือฝูงนก
  12. ทิฏฺฐธมฺม : (ปุ.) สิ่งอันตนเห็นแล้ว, สิ่งอัน...เห็นแล้ว, ทิฏฐธรรม. คำ ทิฏฐธรรม มีความหมายดังนี้ ความเป็นไปในปัจจุบัน, โลกนี้, ภพนี้, ชาตินี้, ปัจจุบัน; ปัจจุบัน ชาติ, ปัจจุบันภพ. วิ. ทิฏฺโฐ ธมฺโม ทิฏฺฐธมฺโม. ทิฏฺฐธมฺโม นาม ปจฺจกฺข- อตฺตภาโว.
  13. ทิฏฺฐปฺปตฺต : ค. ผู้บรรลุแล้วซึ่งทิฏฐธรรม, ผู้บรรลุนิพพานในปัจจุบันชาติ
  14. ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
  15. ทิฏฺฐิกนฺตาร : ป. กันดารคือทิฐิ, ความยุ่งเหยิงสับสนแห่งความคิดเห็นผิดต่างๆ
  16. ทิฏฺฐิคณฺฐิ : อิต. ปมคือทิฐิ, ปมยุ่งแห่งความคิดเห็นอันไร้เหตุผล
  17. ทิฏฺฐิฏฺฐาน : นป. ฐานเป็นที่ตั้งแห่งทิฐิ
  18. ทิฏฺฐินิสฺสย : ป. ทิฐินิสัย, ที่อาศัยคือทิฐิ, ที่อาศัยแห่งทิฐิ
  19. ทิฏฺฐิปกฺข : ป. ฝักฝ่ายแห่งทิฐิ
  20. ทิฏฺฐิมณฺฑล : นป. มลฑลแห่งทิฐิ, สนามลัทธิ
  21. ทิฏฺฐิวิปตฺติ : อิต. ทิฐิวิบัติ, ความวิบัติแห่งความเห็น, ความเห็นวิบัติ, ความเห็นผิด
  22. ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ : อิต. ทิฏฐิวิสุทธิ, ความหมดจดแห่งทิฐิ, ความเห็นบริสุทธิ์, ความเห็นถูกต้อง
  23. ทิฏฺฐิสงฺฆาต : ป. โครงร่างแห่งทิฐิ, ความสับสนแห่งความเห็น
  24. ทิฏฺฐิสมุทย : ป. แดนเกิดแห่งทิฐิ, เหตุให้เกิดความเห็นผิด
  25. ทินปติ : ป. เจ้าแห่งตะวัน, ตะวัน, พระอาทิตย์
  26. ทิปทินฺท : ป. พระผู้เป็นจอมแห่งสัตว์สองเท้า, พระพุทธเจ้า
  27. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  28. ทิวสภาค : ป. ส่วนแห่งวัน, เวลากลางวัน
  29. ทิวสภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งวัน.
  30. ทิสตา : อิต. ทิศ, ทิศทาง, เขต, ภาค, ส่วนแห่งโลก; ความเป็นข้าศึก, ความเป็นโจร
  31. ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
  32. ทิสาภาค : ป. ส่วนแห่งทิศ, ทิศทาง
  33. ทีฆโสตฺติย : (นปุ.) ความเป็นคนแห่งคนผู้ประ พฤติช้า, ความเป็นคนประพฤติช้า, ฯลฯ, ณีย ปัจ. ภาวตัท.
  34. ทีฆายุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้มีอายุยืน, ฯลฯ, ความเป็นคนมีอายุยืน.
  35. ทีปกสิขร : (ปุ. นปุ.) หัวแหลมแห่งเกาะ,ปลายแห่งเกาะ,ท้ายเกาะ.
  36. ทุกฺขกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งทุกข์, พระนิพพาน
  37. ทุกฺขการณ : นป. เหตุแห่งทุกข์, ความทุกข์ที่จะต้องได้รับการลงโทษ
  38. ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
  39. ทุกฺขนฺตคู : ค. ผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์
  40. ทุกฺขนิทาน : นป. เหตุแห่งทุกข์, ต้นเหตุที่ให้เกิดทุกข์
  41. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  42. ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
  43. ทุกฺขสจฺจ : นป. ความจริงคือทุกข์, สิ่งที่เป็นทุกข์จริง, ความจริงแห่งทุกข์
  44. ทุกฺขสมุทย : (ปุ.) ความตั้งขึ้นพร้อมแห่งทุกข์, ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ทุกขสมุทัย ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๒.
  45. ทุกฺขูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งทุกข์, ความหมดทุกข์
  46. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  47. ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
  48. ทุพฺพปุปฺผ : (นปุ.) ดอกแห่งหญ้าพรก, ดอก หญ้าแพรก. ทุพฺพา+ปุปฺผ รัสสะ.
  49. ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
  50. ทุพฺพลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. วิ. ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0624 sec)