Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 701-750
  1. ปททฺวย : นป. หมวดสองแห่งบท, สองบท
  2. ปทวาร : (ปุ.) วาระแห่งเท้า, ระยะแห่งเท้า, ระยะก้าวเท้า, ชั่วก้าวเท้า ( ก้าวย่าง ).
  3. ปทสสคฺค : ป. ความเกี่ยวข้องกันแห่งบท, ความต่อเนื่องกันของคำ
  4. ปทาตฺเว : อ. เพื่อจะให้; ในคาถาแห่งอภิณหชาตก แปลว่าเพื่อถือเอา (ป+ อา + ทา + ตฺเว)
  5. ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
  6. ปทุมกลาป : (ปุ.) กลีบแห่งดอกบัว, กลีบบัว.
  7. ปทุมคพฺภ : ป. ห้องแห่งดอกบัว, ช่องภายในกลีบของดอกบัว; กลีบบัว
  8. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  9. ปธานภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง...เป็นประธาน, ความเป็นแห่งประธาน.
  10. ปธานิยงฺค : นป. องค์แห่งพระภิกษุผู้ควรประกอบความเพียร, คุณสมบัติของผู้ที่จะทำความเพียร
  11. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  12. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  13. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  14. ปพฺพชิตทิวส : (ปุ. นปุ.) วันแห่ง....บวชแล้ว.
  15. ปพฺพตคหณ : นป. ชัฏแห่งภูเขา, ดงที่มีภูเขา, ถิ่นที่มีภูเขามาก
  16. ปพฺพตราช : ป. ราชาแห่งภูเขา, จอมแห่งภูเขา, ขุนเขา หมายถึงภูเขาหิมาลัย
  17. ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
  18. ปภุตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล. ปภุ + ตฺต ปัจ. ภาวตัท.
  19. ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
  20. ปโยคสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งความพยายาม, ความสำเร็จแห่งการประกอบความพยายาม
  21. ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
  22. ปโยเวค : (ปุ.) ความไหลไปแห่งน้ำ, กระแสน้ำ.
  23. ปรคุณมกฺขลกฺขณ : (วิ.) ผู้มีอันลบหลู่ซึ่งคุณ แห่งบุคคลอื่นเป็นลักษณะ.
  24. ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
  25. ปรปริคฺคหิตสญฺตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคล มีความสำคัญว่าของอันบุคคลอื่นหวงแหน แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความรู้ว่าของ อันคนอื่นหวงแหนแล้ว, ความเป็นผู้มี ความรู้ว่าของมีคนอื่นหวงแหน, ความรู้ว่า ของมีเจ้าของหวงแหน.
  26. ปรมตฺถคติ : อิต. คติอันสูงสุด, ทางไปแห่งชีวิตอันยอดเยี่ยม ได้แก่ ปนุปาทิเสสนิพพาน
  27. ปรมตฺถโชติกา : อิต. ชื่อคัมภีร์อรรถกถาแห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต
  28. ปรมตฺถทีปนี : อิต. อรรถกถาที่อธิบายปรมัตถธรรม; ชื่ออรรถกถาแห่งเถรคาถา, เถรีคาถา, วิมานวัตถุ, เปตวัตถุ, อุทาน, อิติวุตตกและปัญจปกรณ์แห่งอภิธรรมปิฎก
  29. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  30. ปรมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ลับ, ลับหน้า, ในที่อื่น แห่งหน้า, ลับหลัง, ในที่ลับหลัง.
  31. ปรเหตุ : อ. เพราะเหตุแห่งผู้อื่น, เพราะผู้อื่นเป็นเหตุ
  32. ปวสฺสน : นป. การตกแห่งฝน, ฝนตก
  33. ปวาหิตตฺต : นป. ความเป็นแห่งสิ่งซึ่งถูกนำไป, การถูกนำไป, การฝัดออก
  34. ปสาทนีย : ค. อันเป็นที่ตั้งแห่งเลื่อมใส, น่าเลื่อมใส
  35. ปสุปติ : ป. ปุศุบดี; เจ้าแห่งสัตว์เลี้ยง; พระอิศวร
  36. ปาปริกฺขย : ป. ความเสื่อมสิ้นแห่งบาป
  37. ปารมิตา, ปารมี : อิต. บารมี, คุณความดีที่เคยสั่งสมมา, ความสูงส่งแห่งบุญ
  38. ปิณฺฑปาติกตฺต : นป. ความเป็นแห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารที่ได้มาจากการบิณฑบาต
  39. ปิตฺติวิสยิก : ค. อันเนื่องด้วยภูมิแห่งเปรต, อันเนื่องด้วยโลกผีหรือดินแดนแห่งผี
  40. ปิตุสนฺตก : ๑. นป. สมบัติของบิดา; ๒. ค. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา
  41. ปิยตฺต : นป., ปิยตา อิต. ความเป็นแห่งสิ่งหรือผู้ซึ่งน่ารักน่าพอใจ
  42. ปีติผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งปีติ, ความมีปีติซาบซ่าน
  43. ปีติรส : นป. รสแห่งปีติ, ความรู้สึกเอิบอาบใจ
  44. ปีติสมฺโพชฺฌงฺค : ป. องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ คือปีติ
  45. ปุญฺญ : นป. บุญ, ความผ่องแผ้วแห่งดวงจิต, ความสะอาด, ความสุข, ความดี
  46. ปุญฺญกฺขนฺธ : ป. กองแห่งบุญ
  47. ปุญฺญกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งบุญ
  48. ปุญฺญกฺเขตฺต : นป. เขตแห่งบุญ
  49. ปุญฺญนุภาว : ป. อานุภาพแห่งบุญ
  50. ปุญฺญผล : นป. ผลแห่งบุญ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0564 sec)