Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 801-850
  1. พฺรหฺมวิมาน : นป. วิมานแห่งพรหม
  2. พฺรหฺมสร : (ปุ.) เสียงราวกะว่าเสียงแห่งพรหม.
  3. พฺรหฺมสฺสร : ป. เสียงเพียงดังเสียงแห่งพรหม; เสียงนุ่มนวลแจ่มใสไพเราะ
  4. พฺราหฺมณธมฺม : ป. ธรรมแห่งพราหมณ์, หน้าที่ของพราหมณ์, กฏของพวกพราหมณ์
  5. พฺราหฺมณรูป : นป. รูปแห่งพราหมณ์
  6. พฺราหฺมณเวส : ป. เพศแห่งพราหมณ์
  7. พลกาย พลนิกาย : (ปุ.) หมู่แห่งกำลัง, หมู่แห่งพล, กองแห่งกำลัง, กองพล, กองทัพ, กองทัพบก.
  8. พลขณฺฑ : (ปุ.) หมู่แห่งกำลัง, หมู่แห่งพล, กองแห่งกำลัง, กองทหาร, กองทัพ, พลขัณฑ์.
  9. พลจกฺก : ๑. นป. พลจักร์, ความเป็นไปหรือแผ่ไปแห่งอำนาจ; ๒. ค. ซึ่งมีอำนาจสูงสุด, มีอำนาจในการปกครอง
  10. พลากร : (ปุ.) หมู่แห่งกำลัง, กองแห่งกำลัง, กองพล, กองทัพ, กองทหาร.
  11. พลิกมุม : (นปุ.) การทำการบูชา, การทำการเซ่น, เครื่องบูชา, เครื่องบูชาแห่งศาสนา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวยเทวดา, เครื่องพลีกรรม, พลีกรรม (การบูชา พิธีบูชา).
  12. พาธกตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เบียดเบียน
  13. พาราณเสยฺยก : ค. แห่งเมืองพาราณสี, สิ่งที่ทำหรือมาจากเมืองพาราณสี
  14. พาห : (ปุ.) แง้มแห่งประตู (แง้มคือริม, ข้าง), บานแห่งประตู, ราว. วหฺ ปาปุณเน, โณ. แปลว่า เกวียน ก็ได้.
  15. พาหิรตฺต : นป. ความมีในภายนอก, ความเป็นแห่งบุคคลภายนอก
  16. พาหุลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มักมาก, ความเป็นผู้มักมาก. พหุล+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  17. พาหุสจฺจ พาหุสฺสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้สดับมาก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสุตะมาก, ความเป็นแห่งพหุสุตบุคคล, ความเป็นพหุสุต, ความเป็นพหูสูต. วิ. พหุสุตสฺส พหุสฺสุตสฺส วา ภาโว พาหุสจฺจํ พาหุสฺสจฺจํ วา, พหุสุต, พหุสฺสุต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  18. พินฺทุสาร : ป. ชื่อพระราชาแห่งประเทศอินเดียองค์หนึ่งผู้เป็นพระชนกของพระเจ้าอโศกมหาราช
  19. พุทฺธกาล : (ปุ.) กาลแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่.
  20. พุทฺธงฺกุร : ป. หน่อเนื้อแห่งพุทธะ, ผู้ซึ่งจะเป็นพระพุทธเจ้าในกาลภายภาคหน้า
  21. พุทฺธตา : อิต. ความเป็นพระพุทธเจ้า, ความเป็นแห่งผู้รู้
  22. พุทฺธนฺตร : (นปุ.) ระหว่างแห่งพระพุทธเจ้า, ระยะแห่งพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกับพระพุทธเจ้าอีกพระ องค์หนึ่ง.
  23. พุทฺธปฺปาท พุทฺธุปฺปาทกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก (โลกยุคมีพระพุทธเจ้า).
  24. พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
  25. พุทฺธสาสน : (นปุ.) ศาสนาแห่งท่านผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ศาสนาของพระ พุทธเจ้า, ศาสนาพุทธ, พุทธศาสนา, พุทธสาสนา, โดยมากใช้รูปสันสกฤต คือ พุทธศาสนา.
  26. พุทฺธสุขุมาล : ป. พระพุทธเจ้าผู้ละเอียดอ่อน, ผู้มีเชื้อชาติดี, ผู้ละเมียดละไม
  27. พุทฺธุปฺปาท : นป. การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้า, การปรากฏขึ้นแห่งพระพุทธเจ้า
  28. โพชฺฌงฺค : (ปุ.) ธรรมเป็นองค์แห่งธรรมเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นองค์แห่งญาณเครื่องตรัสรู้, โพชฌงค์ ชื่อ พระปริตรที่พระสงฆ์สวดให้คนเจ็บไข้ฟัง มีธรรมะ ๗ ข้อ.
  29. โพธิฏฺฐาน : นป. ภาวะหรือฐานะแห่งการตรัสรู้
  30. โพธิปกฺขิก, โพธิปกฺขิย : ค. (ธรรม) ซึ่งเป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ซึ่งเป็นแนวทางแห่งการตรัสรู้
  31. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  32. โพธิปกฺขิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งธรรมสามัคคีเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งการบรรลุ (โลกุตตรธรรม).
  33. โพธิปริปาก : ป., โพธิปาจน นป. ความแก่รอบแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
  34. โพธิมณฺฑ : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งปัญญาชื่อว่า โพธิ, ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งโพธิญาณ.
  35. โพธิรุกฺขมูล : (นปุ.) ควงแห่งต้นไม้ชื่อโพธิ.
  36. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  37. ภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งการกล่าว. ภน+ณฺย ปัจ. ภาวทัต. การกล่าว. ณฺย ปัจ. สกัด.
  38. ภตฺตกาล : (ปุ.) เวลาแห่งภัต, ภัตกาล คือ เวลาฉันอาหารของภิกษุ-สามเณร หรือ ผู้รักษาอุโบสถศีล.
  39. ภตฺตคฺค : (ปุ.) โรงแห่งภัต, โรงสำหรับฉันอาหาร, โรงฉัน, หอฉัน.
  40. ภนฺตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความประหลาดใจ.
  41. ภวงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภพ, ภวังค์ คือส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ อีกอย่างหนึ่ง คือภพของจิต ที่อยู่ของจิต.
  42. ภวตณฺหา : (อิต.) ความอยากในความมี, ความอยากในความเป็น, ความอยากในความเกิด, ความปรารถนาในความมี, ฯลฯ, ความอยากมี, ฯลฯ, ตัณหาเป็นไปในภพ, ตัณหาในภพ, ความกำหนัดแห่งจิตอันสหรคตด้วยภวทิฏฐิ, ความอยากเป็นอยู่ในภพ, ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
  43. ภวนฺตคู : ค. ถึงที่สุดแห่งภพ, ไม่เกิดอีก
  44. ภวปาร : (นปุ.) ฝั่งแห่งภพ, พระนิพพาน.
  45. ภวปารคู : (วิ.) ผู้มีปกติถึงซึ่งฝั่งแห่งภพ วิ. ภวปารํ คมนสีโลติ ภวปารคู. ผู้มีปกติกระทำดีในการถึงซึ่งฝั่งแห่งภพ วิ. ภวปารํ คมเน สาธุการีติ ภวปารคู. รู ปัจ. รูปฯ ๕๗๖.
  46. ภาวน : (นปุ.) คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ.
  47. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  48. ภิกฺข : (ปุ.) ประชุมแห่งภิกษา. ณ ปัจ. สมุหตัท.
  49. ภิกฺขุสงฺฆ : (ปุ.) หมู่แห่งภิกษุ, ภิกษุสงฆ์.
  50. ภิกฺขุสตสหสฺสปริวาร : (วิ.) มีแสนแห่งภิกษุเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตลุ. มี ฉ. ตัป. เป็น ท้อง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0588 sec)