Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 851-900
  1. ภุญฺชนปตฺต : (ปุ.) ภาชนะแห่งของกิน, จาน, ถาด, สำรับ.
  2. ภุมฺมตฺถ : (ปุ.) อรรถแห่งสัตมี.
  3. ภูมิจาล : (ปุ.) การไหวแผ่นดิน, การสั่นแห่งดิน, แผ่นดิน ไหว.
  4. ภูมิปฺปเทส : ป. ภูมิภาค, ส่วนแห่งภาคพื้น
  5. ภูมิภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดิน (การแยกแผ่นดินออกเป็นส่วนๆ), ภูมิภาค (หัวเมือง).
  6. เภทปุเรกฺขารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ทำซึ่งการแตกกันในเบื้องหน้า.
  7. เภทุปาย : (ปุ.) อุบายแห่งการทำลาย, อุบายที่ทำให้เขาแตกกัน.
  8. โภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, แนะท่านผู้เจริญ. โภ อักษรในอรรถแห่งสัมโพธะก็มี สมโณ ขลุ โภ โคตโม.
  9. โภชนาภาชน : (นปุ.) ภาชนะแห่งโภชนะ, ถ้วย, ชาม, จาน, หม้อ, อวย.
  10. โภชนาสาลา : (อิต.) ศาลาแห่งโภชนะ, หอฉัน.
  11. มกรนฺท : (ปุ.) รสแห่งดอกไม้, รสแห่งอ้อย. วิ. มกฺขิกา รมนฺติ เอตฺถาติ มกรนฺโท. อภิฯ วิ. มกฺขิกา รมนฺติ ยสฺมึ โส มกรนฺโท.
  12. มงฺคลฺย : (นปุ.) ความที่แห่ง...เป็นมงคล, ความเป็นมงคล.
  13. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  14. มจฺจราช : (ปุ.) พระเจ้าแห่งความตาย, พระราชาคือมัจจุ, พญามัจจุ, พญา-มัจจุราช, พระยม, พญายม, ความตาย.
  15. มจฺจุเธยฺย : (นปุ.) วัฏฏะเป็นที่ทรงแห่งมัจจุ, วัฎฎะเป็นที่ตั้งแห่งมัจจุ, บ่วงแห่งมัจจุ.
  16. มจฺจุปาส : ป. บ่วงแห่งความตาย
  17. มจฺจุมุข : นป. ปากแห่งความตาย
  18. มจฺจุราช : เจ้าแห่งความตาย
  19. มจฺจุวส : ป. อำนาจแห่งความตาย
  20. มชฺฌณฺห : (ปุ.) ท่ามกลางแห่งวัน, เที่ยงวัน, มัธยัณห์. วิ. อหสฺส มชฺโฌ มชฺฌ-โณฺห. แปลง อห เป็น อณฺห. เป็น มชฺฌนฺต โดยแปลง อห เป็น นฺต ก็มี.
  21. มชฺฌณฺหิกกาล : (ปุ.) กาลประกอบแล้วในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  22. มชฺฌตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, อุเบกขา.
  23. มชฺฌนฺติก : (วิ.) มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, มีในท่ามกลางแห่งวัน.
  24. มชฺฌนฺติกสมย : (ปุ.) สมัยแห่งพระอาทิตย์มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  25. มชฺฌิมนิกาย : (ปุ.) มัชฌิมนิกาย ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ แห่งสุตตันตปิฎก.
  26. มญฺจงฺค : (นปุ.) อวัยวะแห่งเตียง, ส่วนต่างๆ ของเตียง. วิ. มญฺจสฺส องฺคํ อวยวํ มญฺจงฺคํ.
  27. มญฺญตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งตนเป็นผู้ถือตัวแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือตัว, ความเป็นผู้ถือตัว. มญฺญ-ต+ตฺต ปัจ.
  28. มณฺฑป : (ปุ. นปุ.) โรงอันรักษาไว้ซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ วิ. มณฺฑา รวิรํส-โย ปาตีติ มณฺฑโป. โรงดื่มซึ่งรัศมีคือแสงแห่งพระอาทิตย์ คือยังแสงแห่งพระอาทิตย์ให้ฉิบหาย (บังแสง อาทิตย์ไว้). ปา ปาเน, อ. โรงอันชนย่อมประดับ วิ. มณฺฑิยติ ชเนหีติ มณฺฑ-โป. มณฺฑฺ ภูสเน, โป. ปะรำ, โรงปะรำ, มณฑป (เรือนยอดรูปสี่เหลี่ยม).
  29. มตฺตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งประมาณ, ความเป็นผู้รู้ประมาณ, ความเป็นผู้รู้จักประมาณ, ความเป็นคนรู้จักประมาณ, ความเป็นคนผู้รู้จักพอดี, ความรู้จักประมาณ.
  30. มตฺติก : (วิ.) มาข้างมารดา, เกิดแต่มารดา, อันเป็นของมีอยู่แห่งมารดา. ดู เปตฺติก.
  31. มตฺเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่มารดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่มารดา.
  32. มท : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, น้ำมันเป็นที่เมาแห่งช้าง, น้ำมันช้างในเวลาตกมัน, ความคะนอง, ความจองหอง, มทฺ อุมฺมาเท, อ. แปลว่า น้ำโสม เหล้า ด้วย?
  33. มทฺทว : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ณ ปัจ. ภาวทัต. ความอ่อน, ความอ่อน โยน. ณ อัจ. สกัด วิ. มุทุโน ภาโว มทฺทวํ. เอา อุ ที่ มุ เป็น อ เอา อุ ที่ ทุ เป็น อว แปลง ท เป็น ทฺท.
  34. มทนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความเมา.
  35. มทิราพีช : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า.
  36. มธุก : (ปุ.) คนผู้ชมมรรคาแห่งสวรรค์, บุคคลผู้แต่งพงศาวดาร. มคฺคํ ถวตีติ มธุโก. มคฺคปุพฺโพ, ถุ ถติยํ, ณฺวุ. คฺคโลโป, ถสฺส โธ.
  37. มธุโกส : (ปุ. นปุ.) รวมแห่งผึ้ง, รวงผึ้ง.
  38. มธุรส : (ปุ.) รสแห่งน้ำหวาน, รสแห่งน้ำผึ้ง, รสแห่งอ้อย, รสแห่งน้ำอ้อย.
  39. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  40. มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
  41. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  42. มนุสฺสตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งมนุษย์, ความเป็นมนุษย์. ตฺต ปัจ.
  43. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  44. มนุสฺสปฏิลาภ : (ปุ.) การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพแห่งมนุษย์, การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพเป็นมนุษย์.
  45. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  46. มโนโตส : (ปุ.) ความยินดีแห่งใจ, ความแช่มชื่นแห่งใจ, ฯลฯ. มน+โตส.
  47. มโนทฺวาร : นป. มโนทวาร, ทวารแห่งใจ, ทางใจ
  48. มโนธาตุ : อิต. พลังแห่งใจ, มโนธาตุ
  49. มโนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งใจ, ความปรากฏในใจ, มโนภาพ คือ ความคิดเห็นเป็นภาพขึ้นในใจ.
  50. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0455 sec)