Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 901-950
  1. มโนรม : (วิ.) เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, เป็นที่ขอบใจ, เป็นที่ยินดีแห่งใจ, งาม ดี ดีนัก. วิ. มโน รมตฺยสฺมินฺติ มโนรมมํ. รมุ รมเณ, อ.
  2. มโนวิเลข : (ปุ.) ความขูดพิเศษแห่งใจ, ความสงสัย. วิ. มนํ วิเลขติ ทฺวิธากรณวเสนาติ มโนวิเลโข.
  3. มโนสญฺเจตนา : (อิต.) ความจงใจแห่งใจ, ความจงใจ.
  4. มโนสิลารส : (ปุ.) รสแห่งมโนสิลา, น้ำแห่งมโนสิลา.
  5. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  6. มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  7. มมายิต : (วิ.) อัน..ถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, ยึดถือว่าเป็นของเรา, ยึดถือว่าของเรา. มม+อา+อยฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  8. มรณมุข : นป. ปากแห่งความตาย
  9. มรณลิงฺค : (นปุ.) ลักษณะแห่งความตาย.
  10. มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
  11. มหลฺลกาล มหลฺลกกาล : (ปุ.) กาลแห่ง...เป็น...แก่.
  12. มหาชาติ : (อิต.) ชาติใหญ่, มหาชาติ เรียกชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ คือชาติที่เป็นพระเวสสันดร.
  13. มหาปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้ใหญ่, บุรุษผู้ประเสริฐ, มหาบุรุษ คือท่านผู้ทำประโยชน์ ให้แก่ประเทศชาติหรือโลก (ชาวโลก) มาก หรือท่านผู้สร้างสมบารมีไว้มาก เรียกเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อเสด็จออกผนวชแสวงหาโมกขธรรมว่า พระมหาบุรุษ.
  14. มหาภิกฺขฺสฆปริวาร : (วิ.) (สตฺถา) ทรงมีหมู่แห่งภิกษุใหญ่เป็นบริวาร.
  15. มหาภิกฺขุสงฺฆปริวุต : (วิ.) ผู้อันหมู่แห่งภิกษุใหญ่แวดล้อมแล้ว.
  16. มหาราช : (ปุ.) พระราชาที่มหาชนเคารพ, พระราชาผู้ใหญ่, มหาราช. พระมหาราช. พระราชาที่ทรงทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติเหนือกว่าพระราชาองค์อื่นๆ. พสกนิกรจะถวายพระนามว่า มหาราช เช่น สมเด็จพระนเรศวร พระเจ้าตากสิน เป็นต้น. เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศ. ศัพท์นี้ที่ใช้เป็น อาลปนะ สำหรับพระพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน แปลว่า ขอถวายพระพร.
  17. มหาวิปากจิตฺต : (นปุ.) จิตมีผลแห่งความดีมาก, มหาวิปากจิต มี ๘ ดวง.
  18. มหิตล : (นปุ.) พื้นแห่งแผ่นดิน, พื้นดิน, พื้นโลก, มหิดล.
  19. มหิลามุข : (ปุ.) ช้างมีหน้าเพียงดังหน้าแห่งช้างพัง, ช้างมงคลชื่อ มหิลามุข.
  20. มาตงฺคมุทฺธปิณฺฑ : (ปุ.) น้ำเต้าแห่งช้าง ชื่อ อวัยวะส่วนนูนที่อยู่โคนงวงช้าง.
  21. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  22. มาตุลานี : (อิต.) ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้ (ภรรยาของพี่ชายแม่ ภรรยาของน้องชายแม่). วิ. มาตุลสฺส ภริยา มาตุลานี. มาตุล+อี อิต. เพราะลง อี ปัจ. ให้เอา อ ที่ ล เป็น อาน รูปฯ ๑๘๙. ในบางแห่งแปลว่า ป้า น้า ซึ่งเป็นพี่น้องของพ่อก็มี ?
  23. มานุญฺญก : (นปุ.) ความเป็นแห่งของที่เป็นที่ฟูใจ. มนุญฺญ+กณฺ ปัจ. ภาวตัท.
  24. มานุสก : (วิ.) เป็นของมีอยู่แห่งมนุษย์, เป็นของแห่งมนุษย์, เป็นของมนุษย์. ก ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๐.
  25. มานุสฺสก : (ปุ.) ประชุมแห่งมนุษย์, หมู่แห่งมนุษย์. วิ. มนุสฺสานํ สมุโห มานุสฺสโก. กณฺ ปัจ. รูปฯ ๓๖๔.
  26. มานุสี : (วิ.) นี้แห่งมนุษย์.
  27. มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
  28. มารเธยฺย : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้งแห่งมาร, ที่อันมารพึงทรงไว้, ที่อันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่ากิเลสวัฏเป็นที่ทรงแห่งมาร, วัฏฏะเป็นที่ตั้งแห่งมาร, บ่วงแห่งมาร.
  29. มารเสนา : (อิต.) มารและเสนาแห่งมาร. มาร+มารเสนา ลบ มาร ศัพท์หลัง.
  30. มาสทฺธ : (ปุ. นปุ.) กึ่งแห่งเดือน.
  31. มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
  32. มิคราช มิคินฺท : (ปุ.) ราชาแห่งเนื้อ, จอมแห่งเนื้อ, ราชสีห์.
  33. มิจฺฉตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ. ความเห็นผิด. ตฺต ปัจ. สกัด.
  34. มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจร : (วิ.) มีความดำริผิดเป็นที่จรไปแห่งอินทรีย์, มีความดำริผิดเป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, มีความดำริผิดเป็นอารมณ์.
  35. มิจฺฉาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตผิด, ความตั้งใจมั่นไปในทางที่ผิด, สมาธิผิด.
  36. มิถุน : (นปุ.) เมถุน ชื่อกลุ่มดาวราศีที่ ๓, คู่แห่งหญิงและชาย (ถีปุมทฺวยํ). วิ. อิตฺถีปุริสานํ ทฺวยํ มิถุนํ. มิถฺ สงฺคเม, อุโน.
  37. มิถุนายน : (นปุ.) การมาแห่งคู่หญิงชาย.
  38. มุขฺยา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นประธาน, ความเป็นหัวหน้า, ความเป็นประธาน. ณฺย ปัจ.
  39. มุขวฏฺฐ : (อิต.) ขอบแห่งปาก, ขอบปาก.
  40. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  41. มุต : ๑. นป. การรับรู้แห่งสัมผัส; ๒. กิต. รู้
  42. มุตฺตาคุณ : (ปุ.) พวงแห่งแก้วมุกดา.
  43. มุทุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ความเป็นแห่งคนอ่อนโยน.
  44. มุนิมุนิ : (ปุ.) นักปราชญ์แห่งนักปราชญ์, จอมปราชญ์ (พระพุทธเจ้า).
  45. มุนิราช : (วิ.) ผู้เป็นเจ้าแห่งมุนี.
  46. เมทนีตล : (นปุ.) พื้นแห่งแผ่นดิน, พื้นแผ่นดิน.
  47. โมกฺขมคฺค : ป. ทางแห่งความหลุดพ้น
  48. โมจาปน : นป. เหตุแห่งความหลุดพ้น,ความหลุดพ้น
  49. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  50. โมเนยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งมุนี วิ. มุนิสฺส ภาโว โมเนยฺยํ. เณยฺย ปัจ. ภาวตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0543 sec)