Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เม, 143 found, display 101-143
  1. พฺยวาย : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน. วิ. อยฺยติพล เมเต-นาติ วฺยวาโย พฺยวาโย วา. วฺยยฺขเย, โณ, มชฺเฌ วฺอาคโม. อถวา, วิคโต อโย วุทฺธิ ยสฺมา โส พฺยวาโย.
  2. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  3. พฺรห : (วิ.) เจริญ, เจริญขึ้น, งอกงาม, ไพบูล, ไพบูลย์, สูง, สูงขึ้น, ใหญ่. พฺรหฺ วุทฺธิอุคฺคเมสุ, อ.
  4. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  5. มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
  6. มิถุ : (นปุ.) การรวมกัน, การมารวมกัน, คู่. มิถฺ สงฺคเม, อุ.
  7. มิถุน : (นปุ.) เมถุน ชื่อกลุ่มดาวราศีที่ ๓, คู่แห่งหญิงและชาย (ถีปุมทฺวยํ). วิ. อิตฺถีปุริสานํ ทฺวยํ มิถุนํ. มิถฺ สงฺคเม, อุโน.
  8. มุนิ : (ปุ.) พระมุนี พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. พระพุทธเจ้า. วิ. สพฺพธมฺเม มุนตีติ มุนิ. มุนฺ ญาเณ, อิ.
  9. เมชฺฌ : (วิ.) หมดจด, มงคล, ดี. เมธฺ หึสาสํคเมสุ, โณฺย. แปลง ธฺย เป็น ฌ แปลง ฌ เป็น ชฺฌ หรือ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ. ฎีกาอภิฯ.
  10. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  11. เมหน : (นปุ.) อวัยวะอันมีในที่ลับ, อวัยวะสำหรับหลั่งมูตร, อวัยวะสำหรับหลั่งโลหิต, นิมิตรของบุรุษ, นิมิตรของสตรี, ของลับของบุรุษ, ของลับของสตรี. วิ. มิหติ เรตมุตฺตานิ อเนนาติ เมหนํ. มิหฺ เสจเน, ยุ.
  12. ยนฺต ยนฺตฺร : (นปุ.) เครื่องยนต์, เครื่องยนตร์, เครื่องกลไก, เครื่องจักร, ยนต์, ยนตร์. ยมุ อุปรเม, โต. ตรฺณฺปจฺจโย. รูปฯ ๖๕๐.
  13. ยมุนา : (อิต.) ยุมนา ชื่อแม่น้ำใหญ่สาย ๑ ใน ๔ สาย ของอินเดียโบราณ, แม่น้ำ ยมุนา. วิ. ยเมติ มลนฺติ ยมุนา. ยมุ อุปรเม, อุโน, อิตฺถิยํ อา. ยมสฺส ภคินี วา ยมุนา. แม่น้ำยมนา ก็เรียก.
  14. สมฺณ : (ปุ.) สมณะ พระสมณะ(ผู้สงบ ผู้สงบระงับ). วิ. สเมติ สมียติ วา ปาปํ อเนนาติ สมโณ. สมุ อุปสเม, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ.
  15. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  16. สมฺมา : (อิต.) สลักเอกไถ วิ. สเมนฺติ ยาย สา สมฺมา. สมุ อุปสเม, อ. อิตฺถิยํ อา.
  17. สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
  18. สมี : (อิต.) สมี (สะหมี) ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ในพิธีพลีกูณฑ์. วิ. คณฺฑํ สเมตีติ สมี. สมุ อุปสเม. อี อภฯ ลง อิ ปัจ. คำ สมี(สะหมี) ในภาษาไทยใช้เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติปาราชิกไม่ใช้คำที่มาจากภาษามคธ.
  19. สวณ : (ปุ.) สวณะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๒ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย. วิ. สวติ สุภาสุภผล เมเตนาติ สวโณ. สุ ปสเว, ยุ. เป็น สวน บ้าง.
  20. สิวถิกา : (อิต.) หมาจิ้งจอก ชื่อหมาชนิดหนึ่ง ขนสีน้ำตาลแกมเทา หางยาวเป็นพู่ ชอบหากินในเวลากลางคืน สรฺ หึสายํ, อิโว. อภิฯ ตั้ง สมุ อุปสเม? หมาใน ก็แปล.
  21. เสจน : (วิ.) เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, สูงสุด, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, ประเสริฐที่สุด. วิ. สพฺเพ อิเม ปสตฺถา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปสตฺโถติ เสฏโฐ. ปสตฺถ+อิฎฺฐ ปัจ. แปลง ปสตฺถ เป็น ส รูปฯ. ๓๗๖ และอภิฯ.
  22. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  23. อจิรวตี : (อิต.) อจิรวดีชื่อแม่น้ำสายหนึ่งในห้าสายของอินเดียวิ. อจิรํสีฆํคมนเมติสฺ มตฺถีติ อจิรวตี.วนฺตุ ปัจ. อี อิต. แม่น้ำอีก ๔ สาย คือ คงคา มหี ยมุนา และ สรภู.
  24. อชฺฌกฺข : (ปุ.) คนดูการ, คนดูการณ์, คนตรวจการณ์, คนตรวจตรา, คนยาม, เจ้าพนักงาน.วิ. คาเมสุ อธิกตฺตา อธิกา อิกฺขา อนุภวน เมตสฺสาติ อชฺฌกฺโข.อธิ+อิกข แปลง อธิ เป็นอชฺฌ แปลง อิ ที่อิกฺข เป็น อ.
  25. อญฺช : (วิ.) ไป, ยาว, ชัก, ฉุด.อญฺชฺอายาเม, อ.
  26. อปณฺณก : (วิ.) ไม่ผิด (ไม่ให้เกิดความเดือดร้อนใจเมื่อปลายมือ), ถูก, ชอบ, แน่แท้, แท้จริง.วิ.วิรุทฺธโวหาเรนนปณาเมตีติอปณฺณโกนปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหารตฺถุตีสุ, ณฺวุ.
  27. อปฺปนา : (อิต.) ความแนบแน่น, วิ.อปฺเปติสมฺปยุตฺตธมฺเมปาเปตฺยารมฺมณนฺติอปฺปนาอปฺปาปุณเน, ยุ, ทฺวิตฺตํ.
  28. อผล : (วิ.) ไม่มีผล.วิ.นวิชฺชเตผลเมติสฺสาติอผลา.
  29. อมฺมา : (อิต.) แม่.วิ.อมียเตปุตฺตธีตเรหีติอมฺมา.อมฺ ปูชายํ, โม.อเมติเปเมน ปวตฺตติปุตฺตเกสูติวาอมฺมา.อมฺคมเน, โม.
  30. อรตี : (อิต.) อรดีชื่อของธิดามาร ๑ ใน ๓ของพญามารซึ่งพญามารส่งมาผจญพระมหา-บุรุษตอนก่อนจะตรัสรู้.วิ.ปเรสักุสลธมฺ-เมอรตึกโรตีติอรตี.
  31. อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
  32. อลาต : (นปุ.) ฟืน, ลูกไฟ, ถ่านไฟ, ดุ้นไฟ.วิ.หานิเมวลาตินฐิติวิเสสญฺจาติอลาตํ.นปุพฺโพ, ลาอาทาเน, โต.อลตีติวาอลาตํ.อลฺพนฺธเน, อ, โต.ส.อลาต.
  33. อวเลขนปีฐร : (ปุ.) หม้อน้ำชำระ, หม้อใส่น้ำสำหรับล้างก้นเมมื่อถ่ายอุจจาระ.
  34. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  35. อสฺสเม : (ปุ.) อัสสเมธะชื่อมหายาคะอย่าง๑ใน๕อย่าง.วิ. อสฺสํเอตฺถเมธนฺตีติอสฺสเมโธ. อสฺสปุพฺโพ, เมธฺหึสายํ, อ.
  36. อาทิกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น, ผู้ประกอบในกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ.อาทิกมฺเมนอาทิกมฺเม วานิยุตฺโตอาทิกมฺมิโก.ณิกปัจ.ตรัต๎ยาทิตัท.
  37. อายาม : (ปุ.) การชัก, การชักมา, ฯลฯ, ความยาว, ส่วนยาว.อาปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุโม.ยมุวาอุปรเม, อ. ส. อายาม.
  38. อิพฺภ : (วิ.) มีสมบัติ, มั่งคั่ง, ร่ำรวย. วิ. อิภ มรหตีติ อิพฺโภ. โว, วณฺณปริยาโย. อถวา, อิติ กามยติ ธนนฺติ อิพฺโภ. อิ กาเม, โภ, พฺสํโยโค.
  39. อุคฺคาร : (ปุ.) การเรอ, การราก, การอาเจียน, การอ้วก (กิริยาที่สำรอกอาหารออกจาก ปาก). วิ. อุคฺคุณาติ อุคฺคมติ อุทฺธํคม วาต วูฬฺหวเสนาติ อุคฺคาโร. อุปุพฺโพ, คุ, อุคฺคเม, โณ. อถวา, คิรฺ นิคิรเณ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  40. อุทฺธฏ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน. วิ. อุทฺธํ อฏติ จิตฺต เมเตนาติ อุทฺธฏํ. อุทฺธํปุพฺโพ, อฏฺ คมเน, อ.
  41. อุปยม : (ปุ.) งานบ่าวสาว. อุปปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม กีฬายํ วา, อ. ส. อุปยม อุปยาม.
  42. อุปสม : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปสลบ, ธรรมเป็นที่เข้าไประงับ, การเข้าไปสงบ, การเข้าไประงับ, ความเข้าไปสงบ, ความสงบ, ความระงับ, ความเงียบ. อุปปุพฺโพ, สมฺ อุปสเม, อ.
  43. 1-50 | 51-100 | [101-143]

(0.0170 sec)