Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เม, 143 found, display 51-100
  1. อุนฺนาเมติ : ก. ให้สูง, เขยิบขึ้น
  2. อุปนาเมติ : ก. น้อมเข้าไป, นำเข้าไป, น้อมถวาย
  3. อุปเมติ : ก. อุปมา, เปรียบเทียบ
  4. อุปสเมติ : ก. สงบ, ระงับ
  5. การี : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันทำ วิ. อวสฺสํ เม กมฺมํ กาตํ  ยุตฺโตสีติ การี. ณี ปัจ. ส. การิ ศิลปิน, ช่าง.
  6. เมธา : (อิต.) ความรู้, ความฉลาด, ความฉลาดรอบคอบ, ปัญญา, ปัญญาเครื่องกำจัดกิเลส, ปรีชา. วิ. วิเลเสเมธตีติเมธา (กำจัด กิเลส). เมธฺ หึสายํ, อ. เมธาติ สิริยาติ วา เมธา (ไปกันด้วยความดี). เมธฺ สงฺคเม. สุขุมมฺปิ อตฺถํ ธมฺมญฺจ ขิปฺป เมเมตีติ เมธา (ถือเอาผลและเหตุอันสุขุมพลัน). เม อาทาเน, โธ.
  7. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  8. กทมฺพ : (ปุ.) กระทุ่ม ชื่อต้นไม้มีหลายอย่าง วิ. กํ วาตํ ทเมตีติ กทมฺโพ. กปุพฺโพ, ทมฺ อุปสเม, โพ.
  9. กมฺมนิย : (นปุ.) ความควรในการงาน, ความดีในการงาน, วิ. กมฺเม สาธุ กมฺมนิยํ. นิยปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๕.
  10. กามยิตุ กามิ : (วิ.) ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามยิตา กามิ วา. ริตุ, ณิ ปัจ. ลบ รฺ ลง ยฺ อาคม.
  11. กามุก : (วิ.) ผู้ใคร่โดยปกติ วิ. กาเมติ สีเลนาติ กามุโก. ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามุโก. กมฺ กนฺติยํ, ณุโก.
  12. โกจฺฉ : (นปุ.) แปรง, หวี. กุจฺ ปฏิกฺกเม, โฉ.
  13. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  14. คลนฺตฏฺฐิ : (นปุ.) การออกเสียง, การปรากฏ. คุ สทฺเท อุคฺคเม จ, โณ.
  15. คุณิฏฺฐ คุณิย : (วิ.) มีคุณที่สุด มีคุณกว่า. คุณวนฺตุ, คุณมนฺตุ+อิฏฐ, อิย ปัจ. ลบ วนฺตุ, มนฺตุ วิ. สพฺเพ อิเม คุณวนฺโต คุณมนฺโต วา, อยมิเมสํ วิเสเสน คุณวา คุณมา วาติ คุณิฏฺโฐ คุณิโย. รูปฯ๓๘๐.
  16. คุท : (นปุ.) ทวารหนัก, วัจมรรค. วิ. คุณาติ ควติ วา กรีส เมเตนาติ คุทํ. คุ กรีสุสฺสคฺเค, โท.
  17. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  18. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  19. ชิตินฺทฺริย : (วิ.) พระชินะ พระชิน พระนาม ของพระพุทธเจ้าพระนาม ๑ ใน ๓๒ พระ นาม, พระพุทธเจ้า (ผู้ชนะ). วิ. ชินาตีติ ชิโน. ปญฺจ มาเร อชินีติ วา ชิโน. ปาปเก อกุสเล ธมฺเม มาราทโย จ อชินีติ วา ชิโน. ชิ ชเย, อิโน. ส. ชิน.
  20. ฌาน : (นปุ.) ความคิด, ความพินิจ, ความเพ่ง. วิ. ฌายเตติ ฌานํ. เฌ จินฺตายํ, ยุ. ปจฺจนิเก นีวรณธมฺเม ฌาเปตีติ วา ฌานํ. ฌปฺ ฌาปฺ วา ทาเห, ยุ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. ฌายตีติ ฌานํ. เฌ ธาตุ ยุ ปัจ. ใน วิ. แปลง เอ เป็น อาย บทปลงแปลง เอ เป็น อา.
  21. ฑาก : (ปุ.) ผัก (สำหรับดองหรือแกง), ผัก ดอง, เมี่ยง. วิ. เฑติ ภตฺต เมเตนาติ ฑาโก. ฑิ ปเวสเน, โณ. พฤทธิ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา ก สกัด หรือตั้ง ฑํสฺ+ณฺวุ ลบ นิคคหิต และ สฺ
  22. ตกฺก : (ปุ.) ความตริ, ความตรึก, ความคิด, ความนึก, ความวิตก (ตรึก). วิ. ตกฺเกติ สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมณมฺหิ โรเปตีติ ตกฺโก. ตกฺกฺ วิตกฺเก, อ.
  23. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  24. ตามฺพูล : (ปุ.) พลู วิ. ตมฺพวณฺณํ ลาตีติ ตามพูสี. อถวา, มุขํ ตเมตีติ ตมฺพูลํ ตมฺ ภูสเน, พูโล. ตมฺพูลสฺส อยํ ตามฺพูลี. ส. ตมฺพูล หมาก.
  25. ตามพูลี : (อิต.) พลู วิ. ตมฺพวณฺณํ ลาตีติ ตามพูสี. อถวา, มุขํ ตเมตีติ ตมฺพูลํ ตมฺ ภูสเน, พูโล. ตมฺพูลสฺส อยํ ตามฺพูลี. ส. ตมฺพูล หมาก.
  26. ติลิจฺฉ : (ปุ.) งูขว้างค้อน วิ. ติล มิจฺฉตีติ ติลิจฺโฉ. ติลปุพฺโพ, อิสุ อิจฺฉายํ, อ. แปลง ส เป็น จฺฉ. อถวา, ติริยํ อญฺฉตีติ ติลิจฺโฉ. ติริยปุพฺโพ, อฉิ อายาเม, อ. ลบ ย ที่บท หน้าแปลง ริ เป็น ลิ แปลง ฉ ที่สุดธาตุ เป็น จฺฉ. งูเห่า ก็แปล.
  27. ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
  28. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  29. ทมฺม. : (วิ.) อัน...ย่อยยมทรมานได้, ฯลฯ. วิ. ทมฺเมเตติ ทมฺโม. อัน...ทรมานได้, ฯลฯ.วิ. ทมิตพฺโพติ. ทมฺโม. ผู้ควรแก่การทรมาน, ฯลฯ. วิ. ทมนารโห ทมฺโม. ทมฺ ทมเน, โณฺย. แปลง ณฺย กับที่สุดธาตุเป็น มฺม หรือแปลง มฺย เป็น มฺม รูปฯ ๕๓๙.
  30. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  31. เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
  32. เทฺวฬฺหก : (นปุ.) ความสงสัย วิ. เทฺวธา อิลติ จิตฺต เมเตนาติ เทฺวฬฺหกํ. ทฺวิปุพฺโพ. อิลฺ คติกมฺปเนสุ. โห, ลสฺส ฬคฺคํ. สกคฺเถ โก.
  33. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  34. ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
  35. ธมฺมฎฐ : (วิ.) ผู้ตั้งซึ่งธรรม, ผู้ดำรงอยู่ใน ธรรม. วิ. ธมฺเม ติฎฺฐตีติ ธมฺมฎโฐ. ธมฺม+ ฐา+อปัจ.
  36. ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
  37. ธุต : (ปุ.) ภาวะอันขจัดซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล วิ, อกุสสธมฺเม ธุนาตีติ ธุโต, ธุ วิธุนเน, โต.
  38. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  39. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  40. นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
  41. นาคพลา : (อิต.) แตงหนู, มะกอก, ครอบ. วิ. นาคสฺส พลมิว พลเมติสฺสา โรคหรณตฺตา นาคพลา.
  42. นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
  43. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  44. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  45. นิพฺพุติ : (อิต.) นิพพุติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน คือการออกจากวุติคือตัณหา วิ. วติโต นิกฺขมนํ นิพฺพติ. ความดับ, ความเย็น. นิปุพฺโพ, วุ อุปสเม, ติ.
  46. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  47. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  48. นิยามก : (ปุ.) คนขับรถ, คนถือท้ายเรือ, นาย ท้าย, นายท้ายเรือ, ต้นหน, ฝีพาย (คน พายเรือ). วิ. นิยจฺฉติ โปตมิติ นิยามโก. นิปุพฺโพ คมเน, ยมุ อุปรเม, ณวุ.
  49. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  50. ปรเมสฺสร : (ปุ.) ชนผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, เทพผู้เป็น ใหญ่ยิ่ง, พระอิศวร, ปรเมศวร์.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-143

(0.0200 sec)