Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, สำนัก, แห่ง, ชาติ, ข่าว, กรอง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, 1452 found, display 201-250
  1. กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
  2. กุลงฺคาร : ป. บุคคลผู้เป็นดุจถ่านเพลิงแห่งวงศ์ตระกูล, ผู้ผลาญวงศ์ตระกูล
  3. กุลตนฺติ : อิต. แบบแผนประจำตระกูล, ประเพณีแห่งตระกูล
  4. กุลทฺวาร : นป. ประตูแห่งสกุล
  5. กุลทาสี : อิต. นางกุลทาสี, สาวใช้แห่งตระกูล, หญิงรับใช้ประจำครอบครัว
  6. กุลธีตุ : (อิต.) ธิดาแห่งตระกูล, ลูกหญิงผู้มีตระกูล, ลูกสาวผู้มีตระกูล, กุลธิดา. หมายถึงลูกของผู้มีสกุลดี หรือลูกสาวที่ รักษาความเป็นลูกผู้หญิงที่ดี มีมารยาทดี.
  7. กุลปุตฺต : (ปุ.) บุตรแห่งตระกูล, ลูกชายผู้มี ตระกูล. มีนัยเดียวกันกับ กุลธีตุ.
  8. กุลวส : นป. วงศ์แห่งตระกูล, ตระกูลวงศ์
  9. กุลสนฺตก : นป. อันเป็นของมีอยู่แห่งตระกูล; สมบัติของตระกูล, สมบัติประจำตระกูล
  10. กุลิตฺถี : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, หญิงผู้คู่ควรแก่ตระกูล. วิ. กุลานุรุปา อิตฺถี กุลิตฺถี. หญิงแห่งตระกูล วิ. กุลสฺส อิตฺถี กุลิตฺถี. ดูกุลธีตุ ด้วย.
  11. กุลิน กุลีน : (ปุ.) คนมีตระกูล, เหล่ากอแห่ง ตระกูล วิ. กุลสฺส อปจฺจํ กุลิโน วา. อิน, อีน ปัจ.
  12. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  13. กุสลปกฺขิก : ค. อันเป็นฝักฝ่ายแห่งกุศล
  14. กุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความดี, ฯลฯ.
  15. กุสลวิปาก : ป. กุศลวิบาก, ผลแห่งกรรมดี
  16. กุสลาภิสนฺท : ป. วิบากเป็นแดนไหลออกแห่งกุศล, ผลแห่งกุศลธรรม, ห้วงบุญ
  17. กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
  18. กูฏสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งค้อนเหล็ก, ค้อนเหล็ก หนึ่งพันค้อน.
  19. กูฏาคารกุจฺฉิปฺปมาณ : (วิ.) มีท้องแห่งเรือนยอด เป็นประมาณ.
  20. กูฏาคารสต : (นปุ.) ร้อยแห่งเรือนอันประกอบ แล้วด้วยยอด, ร้อยแห่งเรือนยอด.
  21. กูลเทส : (ปุ.) ฝั่งแห่งมหาสมุทร, ฝั่งมหาสมุทร.
  22. เกฏภ : นป. เกฏภศาสตร์, ศาสตร์ชนิดหนึ่งของพราหมณ์ ว่าด้วยวิชาการกวี, ศาสตร์อันเป็นอุปกรณ์แห่งกวี
  23. เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
  24. เกทารโกฏิ : อิต. ที่สุดแห่งนา, ปลายนาดอน
  25. เกลาสกูฏปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. ฉ. ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. ฉ. ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
  26. เกสกลฺยาณ : นป. ความงามแห่งผม
  27. เกสกลาป : ป. มัดแห่งผม, ปอยผม, จุกผม
  28. เกสรสีห : ป. ไกรสรราชสีห์, ราชสีห์ชาติไกรสร, สิงโตมีขนสร้อยคอ
  29. เกสโสภา : อิต. ความงามแห่งผม, ผมงาม
  30. โกฏฐพฺภนฺตร : นป. ภายในแห่งท้อง, ลำไส้
  31. โกตุหล โกตูหล โกตูหฬ : (วิ.) แตกตื่น, ตื่นข่าว, เอิกเกริก.
  32. โกธุปายาส : ป. การประสบกับความโกรธแค้น, ความคับแค้นด้วยสามารถแห่งความโกรธ, ความคับอกคับใจ
  33. โกปเนยฺย : ค. เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ
  34. โกรพฺย, - วฺย : ค., ป. ผู้เป็นเหล่ากอแห่งกุรุ, ผู้สืบเชื้อสายมาแต่เผ่ากุรุ; เป็นชาวแคว้นกุรุ; เหล่ากอแห่งกุรุ, ชาวแคว้นกุรุ
  35. โกลีนิย : ค. (สตรี) ผู้ควรแก่ตระกูล, สตรีเป็นมิ่งขวัญแห่งตระกูล
  36. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  37. โกสล : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนฉลาด, ความเป็นคนฉลาด, ความเป็นผู้ฉลาด. วิ. กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  38. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  39. ขคฺคงฺค : (ปุ.) คมแห่งดาบ, คมดาบ.
  40. ขคาทิพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกมีเครื่องผูกแห่ง นกเป็นต้น.
  41. ขคาทิพีช : (นปุ.) ฟองแห่งสัตว์มีนกเป็นต้น.
  42. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  43. ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
  44. ขทิรงฺคชาตก : (นปุ.) ชาดกอันบัณฑิตกำหนด แล้วด้วยถ่านแห่งไม้ตะเคียน.
  45. ขนฺธปญฺจก : (นปุ.) หมวดห้าแห่งขันธ์.
  46. ขนฺธสนฺตาน : (นปุ.) ความสืบต่อแห่งขันธ์.
  47. ขลมณฺฑล : นป. มณฑลแห่งลาน, ลานนวดข้าว
  48. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  49. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  50. ขีรมุข : (วิ.) มีปากเป็นไปด้วยกลิ่นแห่ง น้ำนม, มีปากยังไม่หมดกลิ่นน้ำนม, มีปากยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม. วิ. ขีรคนฺธิกํ มุขํ ยสฺส โส ขีรมุโข.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1452

(0.0432 sec)